Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/894
Title: THE COMMITMENT FACTORS AFFECTING TO THE RETENTION OF NURSE IN PRIVATE HOSPITALS IN BANGKOK
ปัจจัยความผูกพันที่มีผลต่อการคงอยู่ของพยาบาลในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร.
Authors: Saithip Photong
สายทิพย์ โพธิ์ทอง
KANVALAI NONTAKAEW FERRY
กัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่
Burapha University
KANVALAI NONTAKAEW FERRY
กัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่
kanvalai@buu.ac.th
kanvalai@buu.ac.th
Keywords: ความผูกพัน, การคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ, โรงพยาบาลเอกชน
Commitment Factors Retention of nurse Private Hospitals
Issue Date:  11
Publisher: Burapha University
Abstract: The purposes of this study aimed to study the effects of The purposes of this study aimed to study the effects of the commitment factors on the retention of nurse in private hospitals in Bangkok, the administered questionnaire with the reliability value of 0.902 and approved content validity by the experts were employed for data collection. The 150 samples were determined using the formula by Hair et al. (2010). Both descriptive and inferential statistics were applied including percentage calculation, frequency, mean, standard deviation, as well as, Pearson Correlation analysis. The research findings were revealed that the average respondents perceived that the commitment factors was highly important factor, while mental factor was perceived as highly important factor. Moreover, the respondents strongly agreed about appreciate to be an employee in the organization. According to the correlation analysis, it was found that the emotional and continuous commitment factors significantly influenced nurses' job retention in a private hospital in Bangkok at the 0.05 significance level. In contrast, the baseline factor did not have a significant impact on job retention in the hospital
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านความผูกพันที่มีอิทธิพลกับการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม ซึ่งได้ทำการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.902 ตัวอย่างจำนวน 150 คน เลือกจากการคำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของ Hair et al. (2010) สถิติที่ใช้ประกอบสถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิง อนุมาน ได้แก่ สถิติการวิเคราะห์การถดถอย (Multiple Regression Analysis) ทั้งนี้การทดสอบสมมุติฐานทำที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญต่อตัวแปรชื่อปัจจัยความผูกพันในระดับมากที่สุด ซึ่งเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในระดับความสำคัญมากที่สุด คือ ด้านจิตใจ โดยแบ่งรายละเอียดได้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามลำดับความสำคัญอยู่ในระดับมากที่สุดคือ เรื่องรู้สึกดีที่ได้เป็นพนักงานในองคร์กร ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่าตัวแปรชื่อปัจจัยความผูกพันด้านจิตใจ และด้านความต่อเนื่องมีผลต่อการคงอยู่ของพยาบาลในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานครอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตามลำดับ ทั้งนี้ ตัวแปรชื่อปัจจัยความผูกพัน ด้านบรรทัดฐานไม่มีผลต่อการคงอยู่ของพยาบาลในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร
URI: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/894
Appears in Collections:Faculty of Management and Tourism

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61920166.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.