Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/856
Title: DEVELOPMENT OF ACTIVITIES TO ENHANCE WORKING MEMORY IN ENGLISH SUBJECT FOR PRESCHOOLERS
การพัฒนากิจกรรมเสริมสร้างความจำใช้งานในวิชาภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย
Authors: Nicharee Cemanthasmith
ณิชารีย์ สิมันตาสมิทธ์
WARAKORN SUPWIRAPAKORN
วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
Burapha University
WARAKORN SUPWIRAPAKORN
วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
warakorn@buu.ac.th
warakorn@buu.ac.th
Keywords: ความจำใช้งาน
กิจกรรมเสริมสร้างความจำใช้งาน
วิชาภาษาอังกฤษ
WORKING MEMORY
ACTIVITIES TO ENHANCE WORKING MEMORY
ENGLISH SUBJECT
Issue Date:  11
Publisher: Burapha University
Abstract: This experimental research aimed to study the effect of activities to Enhance Working Memory in English Subjects for preschool age. The participants were 42 children who studying in the third year of Kindergarten did not have a learning disability, and obtained consent from their parents. The participants were obtained by group random sampling and divided into a control group and an experimental group. The experimental group trained with activities to enhance working memory in English Subjects 8 sessions, and the control group attended a school class as usual. Measure the participant's working memory by using the Corsi block Tapping task (Philip Michael Corsi, 1973) at pre-test, post-test, and follow-up after two weeks. The data were analyzed using Repeated-measures Analysis of the Varianc and Bonferroni method. The results indicate that the children who trained with the activities to enhance English working memory have average working memory scores in the post-test and follow-up statistically higher than before the experiment and higher than the control group memory scores at the .05 level of significance.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกิจกรรมเสริมสร้างความจำใช้งานในวิชา ภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กนักเรียนที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 3 ที่ไม่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้และได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง จำนวน 42 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนห้องที่ 1 เป็นกลุ่มทดลองที่ได้รับกิจกรรมเสริมสร้างความจำใช้งานในวิชาภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย จำนวน 8 ครั้ง มีนักเรียนจำนวน 22 คน และห้องที่ 2 เป็นกลุ่มควบคุมได้รับการเรียนการสอนของโรงเรียนตามปกติ มีนักเรียนจำนวน 20 คน วัดความจำใช้งานด้วยแบบทดสอบคอร์ซี่บล็อค (Philip Michael Corsi,1973) โดยวัดทั้งหมด 3 ระยะคือ ก่อนทดลอง หลังทดลองทันที และระยะ ติดตามผลหลังทดลอง 2 สัปดาห์ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่ง ตัวแปรภายในกลุ่ม และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีแบบบอนเฟอรโรนี ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความจำใช้งานหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5
URI: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/856
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61920243.pdf4.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.