Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/891
Title: RISK ASSESSMENT AND RISK MANAGEMENT OF PROCUREMENT DEPARTMENT: A CASE STUDY OF ELECTRONICS MANUFACTURING COMPANY
การประเมินความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงแผนกจัดซื้อจัดหา กรณีศึกษา บริษัทผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
Authors: Worawan Taviya
วรวรรณ ตาวิยะ
PAIROJ RAOTHANACHONKUN
ไพโรจน์ เร้าธนชลกุล
Burapha University
PAIROJ RAOTHANACHONKUN
ไพโรจน์ เร้าธนชลกุล
pairoj@buu.ac.th
pairoj@buu.ac.th
Keywords: การจัดการความเสี่ยง/ COSO/ การจัดซื้อ
ADD RISK ASSESSMENT/ COSO
Issue Date:  11
Publisher: Burapha University
Abstract: This research presents a case study of a electronic manufacturing company of procurement department for identifying the risk factors in operation in procurement for avoid part supply impact production.  The research process consists of a literature review, focus group interview who have experience more than 6 years for risk identification under the three-phases operation framework.                       Result from brainstorming are 13 risk factors. The result over target can’t accept  8 items. The most risk point is supplier that is not ready to start new model. They can not manage the plan clearly that effect part supply to production. The suggestion is improving system to transfer information between supplier and customer.  
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุปัจจัยเสี่ยงภายในและภายนอกในส่วนงานของแผนกจัดซื้อหาที่อาจจะเกิดขึ้น และส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตภายในโรงงาน กรณีศึกษา บริษัทผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของส่วนงานแผนกจัดหา ผู้วิจัยได้ทำการระดมความคิด และสัมภาษณ์กลุ่มผู้มีประสบการณ์ในการทำงานมากกว่า 6 ปีขึ้นไป เพื่อหาปัจจัยเสี่ยง                       ผลจากการระดมความคิด สรุปหัวข้อความเสี่ยงได้ทั้งหมด 13 หัวข้อ พบว่า มีหัวข้อความเสี่ยงที่ไม่สามารถยอมรับได้ 8 หัวข้อ หัวข้อที่มีคะแนนความเสี่ยงสูงที่สุด คือ การสั่งซื้อ งานทดลองเข้ามาประกอบ แต่ซัพพลายเออร์ไม่สามารถส่งงานได้ตามเวลาที่กำหนด เนื่องจาก ขอบเขตของงานในส่วนนี้ เป็นงานรุ่นใหม่ที่ไม่เคยผลิตมาก่อน และมีปัจจัยด้านเวลาที่จำกัด ในการทำงาน ฉะนั้น การตรวจสอบความพร้อมของซัพพลายเออร์เป็นสิ่งที่สำคัญมาก ผู้วิจัย จึงเสนอให้ควรมีการนำระบบเข้ามาใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับทางซัพพลายเออร์
URI: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/891
Appears in Collections:Faculty of Logistics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62920388.pdf3.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.