Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuphach Songtanawongen
dc.contributorศุภัช ทรงธนวงศ์th
dc.contributor.advisorPETCHARUT VIRIYASUEBPHONGen
dc.contributor.advisorเพชรรัตน์ วิริยะสืบพงศ์th
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Management and Tourismen
dc.date.accessioned2022-06-29T04:08:28Z-
dc.date.available2022-06-29T04:08:28Z-
dc.date.issued12/6/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/473-
dc.descriptionMaster Degree of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to study the level of attitude, subjective norm, and perceived behavioral control as purchase intention factors for electric vehicles among consumers in Chonburi. A secondary aim was to study the influence of attitude, subjective norm and perceived behavioral control on the purchase intention of consumers for electric vehicle in Chonburi. Quantitative research methods were used by collecting data through questionnaires from 400 consumers in Chonburi. The data were analyzed by descriptive statistics such as percentage, mean, and multiple regression analysis. The study found that attitude, subjective norm, perceived behavioral control and purchase intention were all at a moderate level. The most influential factors were perceived behavioral control followed by attitude and subjective norm, respectivelyen
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยด้านทัศนคติต่อรถยนต์ไฟฟ้า การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการซื้อรถยนต์ไฟฟ้า และความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภค ในเขตจังหวัดชลบุรี และเพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยด้านทัศนคติต่อรถยนต์ไฟฟ้า การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการซื้อรถยนต์ไฟฟ้าที่มีต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภค ในเขตจังหวัดชลบุรี โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามจำนวน 400 ชุด ในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างในเขตจังหวัดชลบุรี ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติเชิงอนุมานด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านทัศนคติต่อรถยนต์ไฟฟ้า ปัจจัยด้านการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ปัจจัยด้านการรับรู้การควบคุมพฤติกรรม และความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้า อยู่ในระดับปานกลางทั้งหมด และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อมากที่สุด คือปัจจัยด้านการรับรู้การควบคุมพฤติกรรม รองลงมาเป็นปัจจัยด้านทัศนคติต่อรถยนต์ไฟฟ้า และปัจจัยด้านการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง  ตามลำดับth
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectความตั้งใจซื้อ/ รถยนต์ไฟฟ้าth
dc.subjectPURCHASE INTENTION/ ELECTRIC VEHICLESen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleFACTORS INFLUENCING THE INTENTION TO PURCHASE ELECTRIC VEHICLES IN CHONBURIen
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภค ในเขตจังหวัดชลบุรีth
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Management and Tourism

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60920111.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.