Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBannaporn Camsawarten
dc.contributorบรรณาพร คำสวัสดิ์th
dc.contributor.advisorWANNAPA LUEKITINANen
dc.contributor.advisorวรรณภา ลือกิตินันท์th
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Management and Tourismen
dc.date.accessioned2021-03-08T06:38:05Z-
dc.date.available2021-03-08T06:38:05Z-
dc.date.issued9/11/2020
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/173-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThe study of the innovation behavior model among Kasetsart University’s employees aimed 1) to develop the causal relationship of innovation behavior model. 2) to validate the empirical data of quality of working life, empowerment, work passion and innovation behavior. The questionnaire was used to gather the data from 343 of Kasetsart University’s employees. The Structural equation modeling (SEM) was employed to test hypothesis. The research findings found that the level of respondents’ quality of working life, empowerment, work passion and innovation behavior were at high level. Furthermore, the quality of working life, empowerment and work passion significantly affected to innovation behavior.        en
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องแบบจำลองพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแบบจำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรม 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของข้อมูลเชิงประจักษ์ของคุณภาพชีวิตในการทำงาน การเสริมพลังอำนาจในการทำงาน ความทุ่มเทในการทำงาน และพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมในการทำงาน แบบสอบถามถูกใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากพนักงานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 343 คน และใช้การวิเคราะห์สมการโครงสร้างในการทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตในการทำงาน การเสริมพลังอำนาจในการทำงาน การเสริมพลังอำนาจในการทำงาน ความทุ่มเทในการทำงาน และพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมในการทำงานของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในระดับสูง นอกจากนี้ยังพบว่า คุณภาพชีวิตในการทำงาน การเสริมพลังอำนาจในการทำงาน และ ความทุ่มเทในการทำงาน มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectคุณภาพชีวิตในการทำงานth
dc.subjectการเสริมพลังอำนาจในการทำงานth
dc.subjectความทุ่มเทในการทำงานth
dc.subjectพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมth
dc.subjectQUALITY OF WORKING LIFEen
dc.subjectEMPOWERMENTen
dc.subjectWORK PASSIONen
dc.subjectINNOVATION BEHAVIORen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleModel of Innovation behavior among Kasetsart University's employeesen
dc.titleแบบจำลองพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์th
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Management and Tourism

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61920159.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.