Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJeeradaporn Santisirakulen
dc.contributorจีรดาภรณ์ สันติศิระกุลth
dc.contributor.advisorTEERAPONG PURIPANIKen
dc.contributor.advisorธีระพงษ์ ภูริปาณิกth
dc.contributor.otherBurapha Universityen
dc.date.accessioned2024-03-26T06:18:01Z-
dc.date.available2024-03-26T06:18:01Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued12/4/2024
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/875-
dc.description.abstractThe objective of the study was to explore level of preparing and personal factors can affect for economic dimension readiness in non-registered workers for ageing society at Koh Sichang, Chonburi province, by economic stability concept. A sample is non-registered workers the number of a sample was 255, age 50 -59 and live in Koh Sichang, by the  Yamane formula to calculate samples. statistics used for data analysis include frequency and percentage. Analyze the level of economic readiness through two sets of demographic characteristics and ANOVA statistical data T-tests. For population characteristics that can be divided into three or more groups, reach a statistically significant level of 0.05 to test the relationship between population attributes and the level of economic readiness The findings indicated that the sample have the level of economic readiness as a whole is at a low level. The average values ​​for all 4 aspects are shown as follows 1. Economic readiness from own collateral is to a lesser extent (Mean =2.47) 2.Economic readiness from receiving support within the family is to a lesser extent (Mean =2.10) 3.Economic readiness from receiving support within the community or society  is to a lesser extent (Mean =1.75) 4. Economic readiness from government guarantee has never been at the level of preparedness (Mean =1.50) There are five personal information factors that affect the level of economic preparation: 1. age; It has been found that the level of preparation between the ages of 50 and 54 is higher than that between 55 and 59, which is statistically significant 0.41* 2. education level, The Research has found that groups with a bachelor's degree or above are more financially prepared than those with high school/vocational education. And groups with statistically significant levels of primary education.000* 3. Marital status,  The research has shown that single individuals have a higher level of financial readiness than those who are married, divorced, or widowed. Statistical significance. 000*4. Monthly income, The research has found that the economic preparation level of high-income samples is higher than that of low-income groups in statistical significance. 0.25* 5) Housing , According to research, people who own their own homes are often more likely than other groups (such as renters or A group living with relatives or other statistically significant individuals  000*en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาระดับการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจในการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของแรงงานนอกระบบ ในเขตเทศบาลตำบลเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี 2.เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของข้อมูลส่วนบุคคลที่มีผลต่อการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจในการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของแรงงานนอกระบบในเขตเทศบาลตำบลเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นแรงงานนอกระบบที่มีอายุระหว่าง 50 – 59 ปี อาศัยอยู่ในพื้นที่เทศบาลตำบลเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร  ยามาเน่ ได้จำนวน 255 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่  และค่าร้อยละ  เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างปัจจัยของคุณลักษณะประชากรกับการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจจะใช้สถิติ  T-Test สำหรับคุณลักษณะของประชากรที่แบ่งได้ 2 กลุ่ม และสถิติ ANOVA สำหรับคุณลักษณะของประชากรที่แบ่งได้ 3 กลุ่มขึ้นไป ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05  ผลการศึกษาพบว่าด้านการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจฯ ทั้ง 4 มิติ  มีระดับการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจในการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของแรงงานนอกระบบในเขตเทศบาลตำบลเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ปรากฏค่าเฉลี่ยทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ 1.ด้านการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจจากการมีหลักประกันจากตนเอง มีระดับการ  เตรียมความพร้อมอยู่ในระดับน้อยครั้ง (Mean = 2.47) 2. ด้านการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจจากการได้รับการเกื้อหนุนภายในครอบครัว มีระดับการเตรียมความพร้อมอยู่ในระดับน้อยครั้ง (Mean = 2.10) 3. ด้านการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจจากการได้รับการเกื้อหนุนภายในชุมชนหรือสังคม มีระดับการเตรียมความพร้อมอยู่ในระดับน้อยครั้ง (Mean = 1.75) 4. ด้านการเตรียมความพร้อมจากการได้รับหลักประกันโดยรัฐมีระดับการเตรียมความพร้อมอยู่ในระดับไม่เคยเลย (Mean = 1.50)  ส่วนการเปรียบเทียบความแตกต่างของข้อมูลส่วนบุคคลที่มีต่อการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจในการเข้าสู้วัยผู้สูงอายุของแรงงานนอกระบบ ในเขตเทศบาลตำบลเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี สมารถสรุปได้ดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อระดับการเตรียมความพร้อม จากทั้ง 9 ข้อ มีปัจจัยที่ส่งผลอยู่ 5 ปัจจัยดังนี้ ปัจจัยที่ 1 ด้านอายุ พบว่าในวัย 50 -54 ปี จะมีระดับการเตรียมมากว่าวัย 55 -59 ปี ที่นัยสำคัญทางสถิติ .041* ปัจจัยที่ 2 ด้านของการศึกษา พบว่าในกลุ่มที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปจะมีระดับความพร้อมด้านเศรษฐกิจฯ มากกว่ากลุ่มที่มีการศึกษาในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช และกลุ่มที่มีระดับการศึกษาในช่วงประถมศึกษา ที่นัยสำคัญทางสถิติ .000* ปัจจัยด้านที่ 3 ปัจจัยด้านสถานภาพการสมรสจาก ผลการศึกษาพบว่า ในกลุ่มตัวอย่างที่มีสถานภาพโสดจะมีความพร้อมด้านเศรษฐกิจมากกว่าคนที่มีสถานภาพสมรส หย่าร้าง หรือว่าหม้าย ที่นัยสำคัญทางสถิติ .000* ปัจจัยด้านที่ 4 ปัจจัยด้านรายได้ต่อเดือน ผลการศึกษาพบว่าในกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้สูงจะมีระดับการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจมากกว่าคนที่มีรายได้น้อยที่นัยสำคัญทางสถิติ 0.25* ปัจจัยที่ 5 ได้แก่ปัจจัยด้านลักษณะของที่พักอาศัย ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่าผู้ที่มีบ้านพักอาศัยเป็นของตนเองมักจะมีระดับการเตรียมความพร้อมมากกว่าในกลุ่มอื่นอย่างเช่นกลุ่มที่เช่าบ้านอยู่หรือว่ากลุ่มที่อาศัยอยู่กับญาติ หรือบุคคลอื่นที่นัยสำคัญทางสถิติ .000*                              th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectแรงงานนอกระบบth
dc.subjectความพร้อมด้านเศรษฐกิจth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectชลบุรีth
dc.subjectNON REGISTERED WORKERSen
dc.subjectECONOMIC DIMENSION READINESSen
dc.subjectELDERLYen
dc.subjectCHONBURIen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.titleECONOMIC DIMENSION READINESS IN NON-REGISTERED WORKERS FOR AGEING SOCIETY AT KOH SICHANG, CHONBURI PROVINCEen
dc.titleการเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจในการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของแรงงานนอกระบบในเขตเทศบาลตำบลเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรีth
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorTEERAPONG PURIPANIKen
dc.contributor.coadvisorธีระพงษ์ ภูริปาณิกth
dc.contributor.emailadvisorteerapong@buu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorteerapong@buu.ac.th
dc.description.degreenameMaster Degree of Political Science (M.Pol.Sc.)en
dc.description.degreenameรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Political Science and Laws

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63920212.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.