Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/871
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNuttapon Khayaisiangen
dc.contributorณัฐพล ขยายเสียงth
dc.contributor.advisorAUSANAKORN TAVAROMen
dc.contributor.advisorอุษณากร ทาวะรมย์th
dc.contributor.otherBurapha Universityen
dc.date.accessioned2024-03-26T06:16:28Z-
dc.date.available2024-03-26T06:16:28Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued11/11/2023
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/871-
dc.description.abstractThis study has the objective of examining the quality of service delivery and comparing the public's perceptions and expectations regarding the service quality of Nongkhangkhok subdistrict administrative organization. It employs the SERVQUAL framework developed by Parasuraman, Zeithaml, and Berry (1988), which comprises five dimensions: 1. Tangibility, 2. Reliability, 3. Responsiveness, 4. Assurance, and 5. Empathy. Data was collected through a survey of 377 service users at office of Nongkhangkhok subdistrict administrative organization. The analysis included descriptive statistics such as frequencies, percentages, means, and standard deviations, as well as inferential statistics using paired samples t-Tests. The findings of the study revealed that service users hold high expectations for service quality in all five dimensions. The highest expectations are in the reliability dimension, particularly regarding transparent service processes and the ability to address problems as needed. In terms of actual perceptions of service quality, service users rated all five dimensions highly, with the highest perception in the empathy dimension, especially concerning the convenience provided to senior citizens, persons with disabilities, and children, as well as the courteous and respectful behavior of service personnel. When testing the research hypothesis, it was found that there is no significant difference between perceived and expected service quality in Nongkhangkhok subdistrict administrative organization, leading to the rejection of the research hypothesis.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการ และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนจากความคาดหวังและการรับรู้จริงต่อคุณภาพการบริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองข้างคอก โดยใช้เกณฑ์การวัดคุณภาพการให้บริการ (SERVQUAL) ของ Parasuraman, Zeithaml and Berry (1988) จำนวน 5 ด้าน ได้แก่ 1. ความเป็นรูปธรรมของการบริการ (Tangibility) 2. ความน่าเชื่อถือไว้วางใจได้ (Reliability) 3. การตอบสนองต่อผู้รับบริการ (Responsiveness) 4. การให้ความเชื่อมั่นต่อผู้รับบริการ (Assurance) และ 5. การรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการ (Empathy) ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนที่มาใช้บริการ ณ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลหนองข้างคอก จำนวน 377 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เพื่อทดสอบสมมติฐานความแตกต่างระหว่างตัวแปรของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม โดยใช้ Paired samples t - Tests ผลการศึกษาพบว่า ผู้รับบริการมีความคาดหวังต่อคุณภาพการให้บริการทั้ง 5 ด้านอยู่ในระดับมาก โดยมีความคาดหวังในด้านความเชื่อถือไว้วางใจของการบริการ (Reliability) มากเป็นอันดับแรก โดยเฉพาะความคาดหวังต่อขั้นตอนในการให้บริการที่โปร่งใส และความสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงตามความต้องการ ในส่วนการรับรู้จริงต่อคุณภาพการให้บริการพบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน โดยรับรู้คุณภาพบริการด้านการรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการ (Empathy) เป็นเป็นอันดับหนึ่ง โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ให้บริการอำนวยความสะดวกด้วยความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้สูงอายุ ผู้พิการ และเด็ก รวมถึงเจ้าหน้าที่พูดจาสุภาพ มีกิริยามารยาทและอัธยาศัยดี และเมื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองข้างคอก ตามการรับรู้จริงและตามความคาดหวังไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานการวิจัยth
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectการให้การบริการth
dc.subjectคุณภาพth
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลth
dc.subjectชลบุรีth
dc.subjectSERVICEen
dc.subjectQUALITYen
dc.subjectSUBDISTRICT ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONen
dc.subjectCHONBURIen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationPublic administration and defence; compulsory social securityen
dc.subject.classificationPolitical science and civicsen
dc.titleQUALITY OF SERVICE OF NONGKHANGKOK SUBDISTRICT ADMINISTRATIVE ORGANIZATION, CHONBURI.en
dc.titleคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองข้างคอก จังหวัดชลบุรีth
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorAUSANAKORN TAVAROMen
dc.contributor.coadvisorอุษณากร ทาวะรมย์th
dc.contributor.emailadvisorausanakorn@buu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorausanakorn@buu.ac.th
dc.description.degreenameMaster Degree of Political Science (M.Pol.Sc.)en
dc.description.degreenameรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Political Science and Laws

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62920201.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.