Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/80
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorHATHAICHANOK THONGSUKen
dc.contributorหทัยชนก ทองสุขth
dc.contributor.advisorSUNEE HONGWISETen
dc.contributor.advisorสุณี หงษ์วิเศษth
dc.contributor.otherBurapha University. Graduate School of Public Administrationen
dc.date.accessioned2018-08-14T13:19:24Z-
dc.date.available2018-08-14T13:19:24Z-
dc.date.issued26/7/2018
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/80-
dc.descriptionMaster of Public Administration (M.P.A.)en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were: (1) to study safety behavior at work of production workers; (2) to compare safety behavior of production workers with personal status and; (3) to find the relationship between safety behavior and knowledge about safety principles. The samples were 207 people, using a questionnaire as the research tool. The statistics used for data analysis were percentage, standard deviation, t-test, One-way ANOVA and correlation.                        The results of the research can be summarized as follows: The safety behavior of production workers at Isuzu Motors Company (Thailand) Limited. Gateway City Industrial Estate, Chachoengsao was ranked at a good level when considering each variable ranked in descending order as: management, environment, tools & machinery and equipment and operations. The comparison of safety behavior of production workers with personal status revealed that workers who have different gender, education level and job position had the same safety behavior, but workers who have different age and work experience had different safety behavior. The statistics for correlation between safety knowledge production workers safety behavior were found to be related with a correlation coefficient of .170.en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทอีซูซุมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย์ซิตี้ จังหวัดฉะเชิงเทรา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิต 2) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิตกับสถานภาพส่วนบุคคล 3) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานกับความรู้พื้นฐานด้าน  ความปลอดภัย ได้กลุ่มตัวอย่าง 207 จำนวน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test Independent , One-way ANOVA และ Correlation                        ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ พฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทอีซูซุมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย์ซิตี้ จังหวัดฉะเชิงเทราในภาพรวมอยู่ในระดับ ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการจัดการ ด้านสภาพแวดล้อม ด้านเครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์ และด้านการปฏิบัติงาน ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิต กับสถานภาพส่วนบุคคลของพนักงาน พบว่าพนักงานฝ่ายผลิตที่มี เพศ, ระดับการศึกษาและตำแหน่งงานต่างกัน มีพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงาน ฝ่ายผลิต ที่มีอายุและประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน มีพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงาน ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และคะแนนความรู้พื้นฐานด้านความปลอดภัยมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของพนักงานฝ่ายผลิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .170th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectพฤติกรรมด้านความปลอดภัยth
dc.subjectSAFFETY BEHAVIORen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleSAFETY BEHAVIOR AT WORK OF PRODUCTION WORKERS AT  ​ ISUZU MOTORS CO.,​ (THAILAND) LTD. GATEWAY CITY INDUSTRAIL ESTATE, CHACHOENGSAOen
dc.titleพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทอีซูซุมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย์ซิตี้ จังหวัดฉะเชิงเทราth
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Graduate School of Public Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59930025.pdf2.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.