Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/792
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChanapa Ngamchayen
dc.contributorชนาภา งามฉายth
dc.contributor.advisorTATIRAT TACHASUKSRIen
dc.contributor.advisorตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรีth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2023-04-20T02:18:49Z-
dc.date.available2023-04-20T02:18:49Z-
dc.date.issued29/3/2020
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/792-
dc.descriptionMaster Degree of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.abstractEating behaviors of pregnant women working in industrial factories may be influenced by their lifestyle and context of industrial factories. This predictive research aimed to study eating behaviors and factors predicting eating behaviors among pregnant women working in industrial factories. Samples were 210 pregnant women who visited antenatal clinics at a social security center, Queen Savang Vadhana Memorial hospital. Data were collected by questionnaires including demographic data, pregnancy and childbearing, eating behaviors, perceived a nutritional benefit, perceived nutritional barrier, perceived nutritional self-efficacy, social support, and healthy food source in industrial factories. The reliabilities of questionnaires were .82, .84, .85, .90, .86 and .81, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple regression. The result found that the average of eating behaviors among pregnant women working in industrial factories was 37.33 (SD = 4.52). The significant factors which predicted eating behaviors included perceived nutritional self-efficacy (β = .286, p < .001), perceived nutritional barrier (β = -.249, p < .001), healthy food sources in industrial factories (β = .142, p = .023) and perceived nutritional benefit (β = .142, p = .031). The percentage of total variance explained by these factors among the sample was 22.3% (F(1,205) = 14.683, p < .001). The results of this study could be used to develop the model for promoting healthy eating behaviors among pregnant women working in industrial factories.en
dc.description.abstractพฤติกรรมการรับประทานอาหารของหญิงตั้งครรภ์ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาจมีผลมาจากวิถีชีวิตและบริบทของโรงงานอุตสาหกรรม การวิจัยเชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และปัจจัยทำนายพฤติกรรมการรับประทานอาหารของหญิงตั้งครรภ์ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ หญิงตั้งครรภ์ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมและมาฝากครรภ์ ณ ศูนย์ประกันสุขภาพเครือข่าย โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จำนวน 210 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลการตั้งครรภ์และการคลอด แบบสอบถามพฤติกรรมการรับประทานอาหาร แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์ในการรับประทานอาหาร แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคในการรับประทานอาหาร แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองในการรับประทานอาหาร แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม และแบบสอบถามแหล่งอาหารสุขภาพในโรงงานอุตสาหกรรม ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .82, .84, .85, .90, .86 และ .81 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารเฉลี่ยเท่ากับ 37.33 (SD = 4.52) ปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการรับประทานอาหารของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการรับประทานอาหาร (β = .286, p < .001) การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานอาหาร (β = -.249, p < .001) แหล่งอาหารสุขภาพในโรงงานอุตสาหกรรม (β = .142, p = .023) และการรับรู้ประโยชน์ในการรับประทานอาหาร (β = .142, p = .031) ซึ่งสามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการรับประทานอาหารของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 22.3 (F(1,205) = 14.683, p < .001) ผลการศึกษานี้สามารถนำไปใช้ในการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมการรับประทานอาหารอย่างเหมาะสมในหญิงตั้งครรภ์ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมth
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectพฤติกรรมการรับประทานอาหารth
dc.subjectการตั้งครรภ์th
dc.subjectการรับรู้ประโยชน์th
dc.subjectการรับรู้อุปสรรคth
dc.subjectการรับรู้ความสามารถth
dc.subjectแหล่งอาหารสุขภาพth
dc.subjectEATING BEHAVIORSen
dc.subjectPREGNANCYen
dc.subjectPERCEIVED BENEFITen
dc.subjectPERCEIVED BARRIERen
dc.subjectPERCEIVED SELF-EFFICACYen
dc.subjectHEALTHY FOOD SOURCEen
dc.subject.classificationNursingen
dc.titlePredicting Factors of Eating Behaviors among Pregnant Women Working in Industrial Factoriesen
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมการรับประทานอาหารของหญิงตั้งครรภ์ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมth
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Nursing

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60910031.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.