Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/789
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSukanya Pinhomen
dc.contributorสุกัญญา พินหอมth
dc.contributor.advisorSIRIYUPA SANANREANGSAKen
dc.contributor.advisorศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์th
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2023-04-20T02:17:55Z-
dc.date.available2023-04-20T02:17:55Z-
dc.date.issued27/6/2020
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/789-
dc.descriptionMaster Degree of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.abstractGlobally, pneumonia is the leading cause death in children under 5 years old. Thus any intervention to improve mothers’ behavior in caring for children with pneumonia is important. This research used a quasi-experimental design (two group pretest-posttest) to examine the effect of a maternal coaching program on mothers’ behavior in caring for children with pneumonia. The sample was 44 mothers with children under 5 years of age at first admission for pneumonia in the Phra Nakhon Si Ayutthaya hospital, Phra Nakhon Si, Ayutthaya province. The sample was divided into experimental and control groups (n = 22 per group). Data were collected from June to September 2019. The experimental group received a maternal coaching program based on Girvin (1999), which is comprised of 5 steps: 1) agreeing on the context; 2) assessment and analysis; 3) reflection and development planning; 4) action planning, and; 5) evaluation. The control group received regular nursing care. Data were collected by the maternal behavioral in caring for children with pneumonia questionnaire, which had a Cronbach’s alpha of .85. Data were analyzed by descriptive statistics, independent t-test, and paired t-test. After receiving the coaching program, the experimental group’s posttest mean score for maternal behavior in caring for children with pneumonia was significantly higher than its pretest score (t21 = 16.71, p < .001). The experimental group’s posttest mean score was also significantly higher than the control group’s (t42 = 10.13, p = < .001). The results suggest that nurses can apply this coaching program to improve maternal care behavior for children with pneumonia.en
dc.description.abstractโรคปอดอักเสบเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วย และเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี การชี้แนะมารดา เพื่อให้มีพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบที่ถูกต้องเหมาะสมจึงเป็นสิ่งสำคัญ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อน และหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการชี้แนะมารดาต่อพฤติกรรมของมารดาในการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบ ตัวอย่าง คือ มารดาของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่ป่วยด้วยโรคปอดอักเสบครั้งแรก และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 44 ราย คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนด แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 22 ราย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2562 กลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมการชี้แนะมารดาเด็กโรคปอดอักเสบ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) การตกลงร่วมกัน 2) การประเมิน และวิเคราะห์ปัญหา 3) การสะท้อนปัญหา และการวางแผนปฏิบัติ 4) การปฏิบัติตามแผนกิจกรรม และ 5) การประเมินผลการปฏิบัติ กลุ่มควบคุมจะได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมของมารดาในการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบ มีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคทั้งฉบับ เท่ากับ .85 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติ Independent t-test และ Paired t-test ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมการชี้แนะ มารดากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบสูงกว่ากลุ่มควบคุม (t42 = 10.13, p = < .001) และสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการชี้แนะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t21 = 16.71, p < .001)  ผลการวิจัยครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าพยาบาลสามารถนำโปรแกรมการชี้แนะไปประยุกต์ใช้ เพื่อส่งเสริมให้มารดามีพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบที่ถูกต้องเหมาะสมth
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectการชี้แนะมารดาth
dc.subjectพฤติกรรมของมารดาในการดูแลเด็กth
dc.subjectเด็กโรคปอดอักเสบth
dc.subjectMATERNAL COACHING PROGRAMen
dc.subjectMATERNAL BEHAVIOUR IN CARINGen
dc.subjectCHILDREN WITH PNEUMONIAen
dc.subject.classificationNursingen
dc.titleEFFECT OF MATERNAL COACHING PROGRAM ON MATERNAL BEHAVIOR IN CARING FOR CHILDREN WITH PNEUMONIAen
dc.titleผลของโปรแกรมการชี้แนะมารดาต่อพฤติกรรมของมารดาในการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบth
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Nursing

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60910040.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.