Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/782
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAusaniyaphon Chantornen
dc.contributorอุษณียาภรณ์ จันทรth
dc.contributor.advisorPHOTJANART SARAPATen
dc.contributor.advisorพจนารถ สารพัดth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2023-04-20T02:14:36Z-
dc.date.available2023-04-20T02:14:36Z-
dc.date.issued11/4/2023
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/782-
dc.descriptionMaster Degree of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.abstractCoronavirus 2019 is a communicable disease that requires surveillance in all age groups including early adolescents. These adolescents may have behaviors that pose a risk of infection and spreading the infection to others. This predictive correlational research aimed to examine predicting factors of preventing COVID-19 among early adolescents. A simple random sampling was used to recruit 356 students from grades 7–9, aged 13–15 years studying in an extra-large school in Amphoe Mueang, Suphanburi Province. Data were collected from August to September 2022. The research instruments consisted of the demographic record form, the knowledge of COVID-19 questionnaire, the attitudes towards COVID-19 questionnaire, the social support questionnaire, the perceived self-efficacy for preventing COVID-19 questionnaire, and the preventive behaviors for COVID-19 questionnaire. These questionnaires yielded Cronbach’s alpha of .77, .73, .91, .88, and .82, respectively. Descriptive statistics and stepwise multiple regression were employed for data analyses.                       The results showed that perceived self-efficacy for preventing COVID-19, social support, knowledge of COVID-19 and attitude towards COVID-19 could together predict preventive behaviors for COVID-19 in these adolescents for 31.0 % (R2 = .310, p < .01). Perceived self-efficacy for preventing COVID-19 was the best predictor (β = .340, p < .001), followed by social support (β = .272, p < .001), attitudes towards COVID-19 (β = .148, p < .01), and knowledge of COVID-19 (β = .134, p < .01), respectively.                       These findings suggested that nurses and health personnels should promote preventive behaviors for COVID-19 in early adolescents by emphasizing on the enhancement of their self-efficacy, social support and positive attitude towards preventing COVID-19 in order to prevent COVID-19.en
dc.description.abstractโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 เป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังในทุกกลุ่มวัย รวมทั้งวัยรุ่นตอนต้นที่อาจมีพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อไปยังผู้อื่นได้ การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 อายุระหว่าง 13 – 15 ปี ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ 1 โรงเรียน ในเขตอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 356 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคมถึงกันยายน พ.ศ. 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของวัยรุ่นตอนต้นและบิดามารดาหรือผู้ปกครอง แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ได้ค่าความเชื่อมั่นครอนบาคอัลฟา เท่ากับ .77, .73, .91, .88 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน                        ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันโรค การสนับสนุนทางสังคม ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 และทัศนคติเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในวัยรุ่นตอนต้นได้ร้อยละ 31.0 (R2 = .310, p < .01) โดยการรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 เป็นตัวทำนายที่ดีที่สุด (β = .340, p < .001) รองลงมา คือ การสนับสนุนทางสังคม (β = .272, p < .001) ทัศนคติเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (β = .148, p < .01) และความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (β = .134, p <.01) ตามลำดับ                        ผลการศึกษาให้ข้อเสนอแนะว่า พยาบาลและบุคลากรด้านสุขภาพควรส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในวัยรุ่นตอนต้น โดยเน้นเพิ่มการรับรู้ความสามารถในตนเอง ส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม และการมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019  th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectพฤติกรรมการป้องกันโรคth
dc.subjectโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019th
dc.subjectวัยรุ่นตอนต้นth
dc.subjectPREVENTIVE BEHAVIORSen
dc.subjectCORONAVIRUS DISEASE 2019en
dc.subjectEARLY ADOLESCENTSen
dc.subject.classificationNursingen
dc.titlePREDICTORS OF PREVENTIVE BEHAVIORS FOR CORONAVIRUS DISEASE 2019 AMONG EARLY ADOLESCENTSen
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในวัยรุ่นตอนต้นth
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Nursing

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63920176.pdf4.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.