Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNopjarot Pratumtongen
dc.contributorนพจรถ ประทุมทองth
dc.contributor.advisorCHOMPOONUT AMCHANGen
dc.contributor.advisorชมพูนุท อ่ำช้างth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Logisticsen
dc.date.accessioned2023-03-08T02:34:46Z-
dc.date.available2023-03-08T02:34:46Z-
dc.date.issued17/3/2023
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/716-
dc.descriptionMaster Degree of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThis research is to study the optimization of warehouse management for packaging storage of automobile spare parts. The objective is to study the process of picking and determining the optimal storage location of 26 products in the company. This research is applying the process flow chart to study processes of picking and checking the overlap processes. Furthermore, the package was grouped according to the ABC Analysis principle and then optimal storage location by linear programming from the frequency of the put away processes to reduce the total distance inside the warehouse. ​                     The results showed that the time and overlap processes of the picking was reduced from 26 minutes 30 seconds to 19 minutes 30 seconds per sheet then reduced working hours from 8 hours 50 minutes per day to 6 hours 30 minutes, approximately reducing 2 hours. Moreover, the analysis of product classification and located a new storage position, it is reducing the total picking distance from 434.21 km per year to 380.14 km per year, accounted for 12% per year. In addition, the company can reduce operating costs by 480,000.00 baht per year or 7% per year.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้ เป็นการศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้าสำหรับจัดเก็บบรรจุภัณฑ์ของอะไหล่รถยนต์ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการหยิบและกำหนดตำแหน่งการจัดเก็บที่เหมาะสมของสินค้าประเภทบรรจุภัณฑ์ของบริษัทกรณีศึกษาทั้งสิ้น 26 รายการ โดยใช้เครื่องมือแผนภูมิกระบวนการไหล (Process flow) เพื่อศึกษากระบวนการหยิบและตรวจสอบความซ้ำซ้อนของกระบวนการทำงาน จากนั้นวิเคราะห์จัดกลุ่มของบรรจุภัณฑ์ตามหลักการ ABC Analysis และนำข้อมูลที่ได้มากำหนดตำแหน่งการจัดเก็บที่เหมาะสมโดยโปรแกรมเชิงเส้น (Linear programming) จากความถี่ของการเบิก-จ่ายเพื่อลดระยะทางรวมของการเบิกจ่ายสินค้าภายในคลังสินค้า                      ผลการศึกษาพบว่าสามารถลดเวลาและความซ้ำซ้อนของกระบวนการหยิบสินค้าจากเวลา 26 นาที 30 วินาทีลดลงเหลือ 19 นาที 30 วินาที ต่อ 1 ใบงานส่งผลให้ชั่วโมงการทำงานจากเดิม 8 ชั่วโมง 50 นาทีต่อวันลดลงเหลือ 6 ชั่วโมง 30 นาทีสามารถลดชั่วโมงการทำงานได้ทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง ภายหลังการวิเคราะห์การจัดกลุ่มความสำคัญของผลิตภัณฑ์และกำหนดตำแหน่ง การจัดเก็บใหม่ พบว่า สามารถปรับปรุงแผนผังการจัดวาง-หยิบผลิตภัณฑ์ทำให้ระยะทางการหยิบรวมลดลงจาก 434.21 กิโลเมตรต่อปีเหลือ 380.14 กิโลเมตรต่อปี คิดเป็นร้อยละ 12 ต่อปี นอกจากนี้ยังส่งผลให้บริษัทสามารถลดต้นทุนการดำเนินงานได้ 480,000.00 บาทต่อปีคิดเป็นร้อยละ 7 ต่อปีth
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectแผนภูมิกระบวนการไหล/ หลักการ ABC Analysis/ โปรแกรมเชิงเส้น/ การออกแบบผังคลังสินค้า/ การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้าth
dc.subjectPROCESS FLOW/ ABC ANALYSIS/ LINEAR PROGRAMMING/ WAREHOUSE LAYOUT DESIGN/ EFFICIENCY IMPROVEMENT IN WAREHOUSE MANAGEMENTen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEFFICIENCY IMPROVEMENT IN WAREHOUSE MANAGEMENT OF PACKAGING IN AUTOMOTIVE SPARE PARTen
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้าสำหรับจัดเก็บบรรจุภัณฑ์ของอะไหล่รถยนต์th
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Logistics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63920155.pdf4.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.