Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/658
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanatcha Khluipraserten
dc.contributorธนัชชา ขลุ่ยประเสริฐth
dc.contributor.advisorPAIROJ RAOTHANACHONKUNen
dc.contributor.advisorไพโรจน์ เร้าธนชลกุลth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Logisticsen
dc.date.accessioned2023-02-06T04:27:42Z-
dc.date.available2023-02-06T04:27:42Z-
dc.date.issued11/11/2022
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/658-
dc.descriptionMaster Degree of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of the study were; 1) to study the problems and causes of delayed picking in the warehouse of the case study's company, and 2) to increase the efficiency of warehouse management by a collection of basic information on the monthly import and sale of goods for the whole year 2021. This study uses a fishbone diagram to find the root cause, manages inventory using ABC analysis, and changes the warehouse layout.                       The results illustrated that the fishbone diagram analysis revealed the problem was that employees spent too much time picking up the products. The research changes the warehouse layout by starting from the analysis of the products using ABC analysis. The research found that there were 2 types in group A, 1 type in group B, and 7 types in group C, respectively. This research increased the warehousing space by 60 square meters from the original area of 1,015 square meters to 1,075 square meters or expanded the area by 5.9%. Furthermore, this research increased a door on another side of the warehouse to reduce the picking time by around 50%. Finally, the research increased the warehouse area by 1,125 square meters, increasing the slot of pallet storage from 808 pallets to 2,480 pallets, which could increase approximately triple the original size. In the operation process, this research selected a forklift whose size should not exceed 1.3 meters. The researcher applied a visual control by setting the signboard to show each pallet's status in each product type. Red color represents group A products, yellow color represents group B products, and pink color represents group C products for the improvement analysis of the warehouse area.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุในการหยิบสินค้าล่าช้า ในคลังสินค้าบริษัทกรณีศึกษา และ 2) เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้า จากการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของการนำเข้าและขายของสินค้าแบบรายเดือนทั้งปี พ.ศ. 2564 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาด้วยแผนผังก้างปลา ทำการจัดกลุ่มสินค้าโดยใช้เทคนิคแบบเอบีซี และการปรับผังคลังสินค้า                       ผลการวิจัย พบว่า จากการวิเคราะห์ด้วยแผนผังก้างปลาได้พบปัญหาที่เกิดขึ้น คือ พนักงานใช้เวลามากในการเดินทางหยิบสินค้า ผู้วิจัยจึงปรับผังคลังสินค้าใหม่ โดยเริ่มจากการวิเคราะห์สินค้าด้วยการแบ่งกลุ่มแบบเอบีซี พบว่า กลุ่มเอ มี 2 ชนิด กลุ่มบี มี 1 ชนิด และกลุ่มซี มี 7 ชนิด จากการจัดผังคลังสินค้าใหม่ พบว่า เมื่อขยายพื้นที่เพิ่ม 60 ตารางเมตร จากเดิมเป็นส่วนของพื้นที่ผลิตสินค้า โดยพื้นที่คลังจะเพิ่มขึ้นจากเดิม 1,015 ตารางเมตร เป็น 1,075 ตารางเมตร หรือขยายพื้นที่ได้ 5.9% และมีการเพิ่มประตูทางเข้าออกอีกด้านหนึ่งของคลังสินค้า สามารถลดระยะเวลาในแต่ละเที่ยวการหยิบลงได้ถึงครึ่งหนึ่ง สำหรับการหยิบสินค้าจากอีกด้านหนึ่งของคลัง นอกจากนี้ ได้ทำการเพิ่มพื้นที่คลังสินค้า 1,125 ตารางเมตร และทำให้มีช่องเก็บพาเลทเป็น 2,480 พาเลท จากเดิมที่เก็บได้ 808 พาเลท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมประมาณ 3 เท่าตัว ในการปฏิบัติการจำเป็นต้องพิจารณาเลือกใช้รถโฟล์คลิฟท์ ขนาดไม่เกิน 1.3 เมตร นอกจากนี้ ยังได้มีการใช้ระบบการควบคุมด้วยการมองเห็น โดยการเสนอให้จัดป้ายแสดงสถานะของสินค้าแต่ละชนิดในแต่ละ พาเลท สีแดงใช้แทนสินค้ากลุ่มเอ สีเหลืองใช้แทนสินค้ากลุ่มบี สีชมพูใช้แทนสินค้ากลุ่มซี ในส่วนของการวิเคราะห์การปรับปรุงพื้นที่คลังสินค้าth
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectการเพิ่มประสิทธิภาพคลังสินค้า/ การจัดการคลังสินค้า/ แผนผังก้างปลา/ การวิเคราะห์แบบเอบีซี/ การควบคุมด้วยการมองเห็นth
dc.subjectWAREHOUSE OPTIMIZATION/ WAREHOUSE MANAGEMENT/ FISH BONE DIAGRAM/ ABC ANALYSIS/ VISUAL CONTROLen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleINCREASING EFFICIENCY OF WAREHOUSE LAYOUT: A CASE STUDY OF ABC COMPANYen
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดผังคลังสินค้า กรณีศึกษาบริษัท ABC จำกัดth
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Logistics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63920439.pdf4.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.