Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/609
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPiyatip Wattanasoontornen
dc.contributorปิยาทิพย์ วัฒนสุนทรth
dc.contributor.advisorAIMUTCHA WATTANABURANONen
dc.contributor.advisorเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์th
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2022-12-28T02:00:03Z-
dc.date.available2022-12-28T02:00:03Z-
dc.date.issued20/6/2022
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/609-
dc.descriptionMaster Degree of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed at studying Health Belief Model affecting fever management in children of caregivers including knowledge factor, perceptions of fever and modifying factors concerning caregiver informations and children fever informations. The participants in this research were caregivers of  children in the Child Development Center of  BanSuan Municipality Area, Mueang District, Chonburi Province among 240 participants. The sample was randomly selected through the multi-stage random sampling technique. The instuments were questionnaires that comprised of general information, the knowledge  about fever management in children, the perception about fever management in children and fever management in children of caregivers. For statistical analysis: mean, percentage, standard deviation (SD), highest-lowest score, range, Pearson's product moment correlation coefficient, and multiple linear regression.                       Results revealed that the sample had  the total mean scores on perception of fever management at the moderate level (X̄ =59.30, SD = 8.099) knowledge factor in children of caregivers had the total mean scores on the knowledge about fever management in children at the moderate level (X̄ = 10.24, SD = 2.121) factors affecting fever management in children of caregivers the results revealed that there were 3 variables affecting  fever management in children of caregivers which were having experiences about fever management in children of caregivers, the knowledge about fever management in children, the perception about fever management in children at the statistically significant level of .01. The effect sizes were 0.137, 0.228 and 0.477, respectively. Factors affecting fever management in children of caregivers about 43%at a statistically significant level of .01.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health belief model) ที่ส่งผลต่อการจัดการภาวะไข้ในเด็กของผู้ดูแล ได้แก่ ปัจจัยด้านความรู้ ปัจจัยด้านการรับรู้เกี่ยวกับภาวะไข้ของผู้ดูแลในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ และปัจจัยร่วม คือ ข้อมูลของผู้ดูแลและข้อมูลของเด็กที่มีไข้ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตพื้นที่เทศบาลเมืองบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำนวน 6 แห่ง รวม 240 คน เครื่องมือที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลเป็บแบบสอบถามประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดความรู้ในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ของผู้ดูแล แบบสอบถามการรับรู้ความเชื่อในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ของผู้ดูแล และแบบสอบถามการจัดการภาวะไข้ในเด็กของผู้ดูแล สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าพิสัย ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) และสมการถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple linear regression)                       ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้ความเชื่อในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ส่วนใหญ่อยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง (X̄ = 59.30, SD = 8.099) ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ดูแลในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ มีค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ในระดับถูกต้องปานกลาง (X̄ =10.24, SD = 2.121) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการภาวะไข้ของผู้ดูแล จากการศึกษาพบว่า ตัวแปรที่ส่งผลต่อการจัดการภาวะไข้ของผู้ดูแลมี 3 ตัวแปร ได้แก่ ผู้ดูแลมีประสบการณ์ในการดูแลเด็กเมื่อมีไข้  ความรู้ในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ และการรับรู้ความเชื่อในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ตามทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health belief model) มีค่าสมการถดถอย (Bata) เท่ากับ 0.137, 0.228 และ 0.477 ตามลำดับ ตัวแปรทั้งหมดเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการภาวะไข้ในเด็กของผู้ดูแลได้ ร้อยละ 43 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ/ ความรู้ในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ของผู้ดูแล/ การรับรู้ความเชื่อในการดูแลเด็กที่มีภาวะไข้ของผู้ดูแล/ การจัดการภาวะไข้ในเด็กของผู้ดูแลth
dc.subjectHEALTH BELIEF MODEL/ THE KNOWLEDGE ABOUT FEVER MANAGEMENT IN CHILDREN/ THE PERCEPTION ABOUT FEVER MANAGEMENT IN CHILDREN AND FEVER MANAGEMENT IN CHILDREN OF CAREGIVERSen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleHEALTH BELIEF MODEL AFFECTING FEVER MANAGEMENT IN CHILDREN OF CAREGIVERSen
dc.titleแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพที่ส่งผลต่อการจัดการภาวะไข้ในเด็กของผู้ดูแลth
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62910140.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.