Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/510
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNuttida Musikachaten
dc.contributorนัฐธิดา มุสิกชาติth
dc.contributor.advisorKOMSAN TREEPIBOONen
dc.contributor.advisorคมสัน ตรีไพบูลย์th
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-08-30T03:08:45Z-
dc.date.available2022-08-30T03:08:45Z-
dc.date.issued20/6/2022
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/510-
dc.descriptionMaster Degree of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to compare the student’s reasoning ability and mathematical concept of Mathayomsuksa II students after using the learning management based on 5es instructional model and the think - pair - share technique with 70 percent criterion. The subjects of this study were 26 Mathayomsuksa II students in the second semester of the 2021 academic year at Watnonsaparam School in Saraburi. They were randomly selected by using cluster random sampling. The instruments used in the study were; 9 lesson plans, mathematical reasoning ability test (with reliability of 0.82) and mathematical concept test (with reliability of 0.78). The data were analyzed by mean, standard deviation, and t-test for one sample group.  Research results were 1) After using the learning ,the average score of Mathayomsuksa II students’ mathematical reasoning ability were higher than the criteria of 70 percent with statistical significance at the level of 0.05, and 2) After using the learning ,the average score of Mathayomsuksa II students’ mathematical concepts were higher than the criteria of 70 percent with statistical significance at the level of 0.05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผล และมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5Es) ร่วมกับเทคนิค Think-Pair-Share กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนวัดโนนสภารามฯ จ.สระบุรี จำนวน 26 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 9 แผน แบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.82 และแบบวัดมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.78 วิเคราะห์ผลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที แบบกลุ่มตัวอย่างเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ มีความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ มีมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนth
dc.subjectเทคนิค Think-Pair-Shareth
dc.subjectความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectlearning management based on 5es instructional modelen
dc.subjectthink - pair - share techniqueen
dc.subjectmathematical concepten
dc.subjectmathematical reasoning abilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE EFFECTS OF LEARNING MANAGEMENT BASED ON 5Es INSTRUCTIONAL MODEL AND THINK - PAIR -SHARE TECHNIQUE ON REASONING ABILITY AND MATHEMATICAL CONCEPT OF MATHAYOMSUKSA 2 STUDENTSen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5Es) ร่วมกับเทคนิค Think - Pair – Share ที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผลและมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62920072.pdf7.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.