Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/485
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPannaphat Sakunsongdajen
dc.contributorพรรณพัชร สกุลทรงเดชth
dc.contributor.advisorNAIYANA PIPHATVANITCHAen
dc.contributor.advisorนัยนา พิพัฒน์วณิชชาth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2022-08-25T03:58:00Z-
dc.date.available2022-08-25T03:58:00Z-
dc.date.issued15/11/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/485-
dc.descriptionMaster Degree of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.abstractSuitable health behavior can control coronary artery disease (CAD) and reduce dangerous complications. This descriptive correlational research aimed to study health behavior of older adults with CAD and the relationship between health belief perception and health behavior of older adults with CAD. The 113 subjects, who attended the medicine clinic outpatient department at Chonburi hospital, were selected by simple random sampling. The research instruments were a demographic interview, the health beliefs perception interview with 6 aspects (Stretcher & Rosenstock, 1997) and the health behavior interview of the older adults with CAD. Content validity index scores were .96, .94, .98, .96, 1.00, .98 and .98, respectively. Cronbach’s alpha coefficients were .725, .785, .932, .705, .844, .743 and .889, respectively. The researchers eliminated 3 subjects because of outlier traits. Data analysis of the remaining 110 subjects found that nearly all (99.1%) had a high level of health behaviors (x̄ = 53.67, SD = 4.64). Analysis by Pearson's product moment correlation coefficient and Spearman rank correlation coefficient showed that perceived self-efficacy had a positive and high relationship (rs = .811, p < .001), perceived barriers had a negative and high relationship (rs = -.811, p < .001), perceived benefit had a positive and moderate relationship (rs = .359, p < .001) and perceived severity of CAD had a low positive correlation (rps = .200, p < .05) with health behavior of the older adults with CAD. There were no significant relationships (p < .05) between perceived susceptibility and health behavior of older adults with CAD, or between perceived cues to action and health behavior of older adults with CAD. To promote suitable health behavior of older adults with CAD, nurses can use these research findings as a basis for improving nursing practice by increasing perceived self-efficacy, perceived benefit and perceived severity, and by reducing perceived barriers.en
dc.description.abstractการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถควบคุมโรคหลอดเลือดหัวใจ และลดภาวะแทรกซ้อนของโรคที่เป็นอันตรายต่อชีวิตได้ การวิจัยเชิงบรรยายความสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับของพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดหัวใจ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 113 ราย ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จากผู้สูงอายุที่รับบริการสุขภาพที่คลินิกอายุรกรรม แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป แบบสัมภาษณ์การรับรู้ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ 6 ด้าน ของ Stretcher and Rosenstock (1997) และแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดหัวใจที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้เท่ากับ .96, .94, .98, .96, 1.00, .98 และ .98 ตามลำดับ ส่วนความเชื่อมั่นของเครื่องมือคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’ s alpha coefficient) ได้เท่ากับ .725, .785, .932, .705, .844, .743 และ .889 ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อตัดกลุ่มตัวอย่างที่มีค่าคะแนน outlier เหลือจำนวน 110 ราย  พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 99.1) มีพฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับสูง (x̄ = 53.67, SD = 4.64) การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสัมประสิทธิ์สหพันธ์ของเพียรสัน และสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน แรงค์ ออเดอร์ พบว่า การรับรู้ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพของโรคหลอดเลือดหัวใจ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง (rs  = .811, p < .001) การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพของโรคหลอดเลือดหัวใจ มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับสูง (rs  = -.811, p < .001) และการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพของโรคหลอดเลือดหัวใจ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง (rs  = .359, p < .001) กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดหัวใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนการรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดหัวใจ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำ (rps  = .200, p < .05) กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดหัวใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อย่างไรก็ตาม การรับรู้โอกาสเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ และการรับรู้สิ่งชักนำให้สู่การปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพของโรคหลอดเลือดหัวใจ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดหัวใจอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พยาบาลสามารถใช้ผลการวิจัยนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล โดยให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของผู้สูงอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพของโรคหลอดเลือดหัวใจ การรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดหัวใจ และลดการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดหัวใจให้เหมาะสมต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectปัจจัยth
dc.subjectแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพth
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectโรคหลอดเลือดหัวใจth
dc.subjectFACTORSen
dc.subjectHEALTH BELIEFen
dc.subjectOLDER ADULTSen
dc.subjectCORONARY ARTERY DISEASEen
dc.subject.classificationNursingen
dc.titleRELATIONSHIP BETWEEN HEALTH BELIEF PERCEPTION AND HEALTH BEHAVIOR OF OLDER ADULTS WITH CORONARY ARTERY DISEASEen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดหัวใจth
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Nursing

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59920414.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.