Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/446
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWatcharabhorn Sungkaphanen
dc.contributorวัชรภรณ์ สังขพันธ์th
dc.contributor.advisorVICHAYA GUNBUAen
dc.contributor.advisorวิชญา กันบัวth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2022-06-16T02:35:06Z-
dc.date.available2022-06-16T02:35:06Z-
dc.date.issued4/4/2022
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/446-
dc.descriptionMaster Degree of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe abundance and composition of microplastic in the eastern coastal areas of Chonburi province, Thailand were studied. The samples were collected from 7 stations (Tha Ruea Phli, Angsila, Laem Thaen, Wonnapha beach, Koh Loi island, Koh Sichang island and Ao Udom) in March, June, September and December 2020. The uses of the Manta net (330 µm) and Submerged pump (300 µm) were carried out for the water sample collection while the Ekman grab was used for the sediment samples. The results indicated that 6 compositions of microplastics were found, namely filament, fragment, foam, film, granule and pellet with the highest abundance of filament in both water and sediment samples. The results also found that colors of sampled plastics were red, blue and white color. The size of microplastics were in the range of 100-2000 µm and 4 types of plastics (polyethylene, polypropylene, polyester and polyamide) were found. The average densities of sampling methods were 16.73 and 40.96 particle/m3  using Manta net and Submerged pump, respectively and 118.60 particle/kg using the sediment method. The results showed that the monsoon and season changes were the factors of the composition and density of microplastics. Moreover, the ingestion of unnatural feeding was also found in zooplankton studied by the fluorescent spectroscopy in the low amount of 0.27 %. The studies of microplastic in zooplankton represented that the microplastic may possibly consumed by zooplankton which may be depended on size (body & mount), concentration and microplastic shape which may negatively impact to zooplankton and to the food web accumulation.en
dc.description.abstractศึกษาองค์ประกอบและความหนาแน่นของไมโครพลาสติกบริเวณชายฝั่งจังหวัดชลบุรี ในปีพ.ศ. 2563 ทั้งหมด 4 ครั้ง คือ เดือนมีนาคม เดือนมิถุนายน เดือนกันยายน และเดือนธันวาคม จำนวน 7 สถานี ได้แก่ ท่าเรือพลี อ่างศิลา แหลมแท่น หาดวอนนภา เกาะลอย เกาะสีชัง และอ่าวอุดม เก็บตัวอย่างไมโครพลาสติกทั้งหมด 3 ตำแหน่ง คือ ในผิวน้ำใช้วิธีการลากถุง Manta net ขนาดช่องตา 330 ไมโครเมตร ในมวลน้ำใช้วิธีการ Submerged pump กรองน้ำผ่านถุงกรองแพลงก์ตอนขนาดช่องตา 300 ไมโครเมตร และในดินตะกอนใช้วิธีการ Ekman grab ผลการศึกษาพบองค์ประกอบไมโครพลาสติกทั้งหมด 6 ประเภท ได้แก่ เส้นใย ชิ้นส่วนพลาสติก โฟม ฟิล์มพลาสติก เม็ดบีดส์ และเม็ดพลาสติก โดยเส้นใยเป็นประเภทพบมากที่สุด สีส่วนใหญ่ที่พบ คือ สีแดง สีน้ำเงิน และสีขาว ขนาดของ ไมโครพลาสติกอยู่ในช่วง 100-2,000 ไมโครเมตร ชนิดพลาสติกที่พบได้แก่ พอลิเอทิลีน พอลิโพรไพลีน พอลิเอสเตอร์ และพอลิเอไมด์ ผลการวิเคราะห์ปริมาณไมโครพลาสติกจาก 3 วิธีการ คือ Manta net, Submerged pump และในดินตะกอน พบความหนาแน่นเฉลี่ยทั้งหมดเท่ากับ 16.73, 40.96 ชิ้นต่อลูกบาศก์เมตร และ 118.60 ชิ้นต่อกิโลกรัม ตามลำดับ จากผลการศึกษาพบว่าการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและความหนาแน่นของไมโครพลาสติกนั้นเกิดจากปัจจัยของลมมรสุมที่เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ผลการศึกษาการกินอาหารที่ไม่ใช่ตามธรรมชาติในทางเดินอาหาร ของแพลงก์ตอนสัตว์โดยใช้เทคนิคการตรวจสอบภายใต้กล้องฟลูออเรสเซนต์ พบร้อยละการกินอาหารที่ไม่ใช่ตามธรรมชาติของแพลงก์ตอนสัตว์ในสัดส่วนที่น้อย (0.27%) ผลจากการสำรวจเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาการกินไมโครพลาสติกโดยแพลงก์ตอนสัตว์ ทำให้ทราบว่าแพลงก์ตอนสัตว์สามารถกินไมโครพลาติกได้โดยการเลือกกิน ไมโครพลาสติกขนาดที่แตกต่างกันนั้นสัมพันธ์กับขนาดตัวและขนาดปากของแพลงก์ตอนสัตว์ รวมทั้งความเข้มข้นและรูปร่างของไมโครพลาสติกก็ยังส่งผลต่อการกินของแพลงก์ตอนสัตว์ด้วย ซึ่งไมโครพลาสติกที่เข้าสู่ร่างกายนั้นจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อแพลงก์ตอนสัตว์ อีกทั้งยังสามารถส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังผู้บริโภคลำดับสูงผ่านการสะสมตามห่วงโซ่อาหารได้  th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectไมโครพลาสติกth
dc.subjectจังหวัดชลบุรีth
dc.subjectแพลงก์ตอนสัตว์th
dc.subjectดินตะกอนth
dc.subjectManta netth
dc.subjectSubmerged pumpth
dc.subjectMicroplasticen
dc.subjectChonburi province Thailanden
dc.subjectZooplanktonen
dc.subjectSedimenten
dc.subjectManta neten
dc.subjectSubmerged pumpen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.titleMicroplastics Composition and Abundance in The Coastal at Chonburi Provinceen
dc.titleองค์ประกอบและความหนาแน่นของไมโครพลาสติกในบริเวณชายฝั่ง จังหวัดชลบุรีth
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61910069.pdf7.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.