Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKittisak Makkawanen
dc.contributorกิตติศักดิ์ มัฆวาลth
dc.contributor.advisorTHANYAPHAT MUANGPANen
dc.contributor.advisorธัญภัส เมืองปันth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Logisticsen
dc.date.accessioned2022-06-16T02:27:46Z-
dc.date.available2022-06-16T02:27:46Z-
dc.date.issued4/4/2022
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/441-
dc.descriptionMaster Degree of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to identify the smart port indicators (SPIs), to confirm the smart port indicators of smart port performance, and to propose a preliminary development plan for smart port of The Eastern Economic Corridor in Thailand. The Population in this research were responsible employed in the operation department and the safety/ environment department which directly responsible for smart port management by 11 container terminals in the EEC Thailand, a total of 341 people. In this research, a questionnaire survey was collected from a total of 192 sample respondents. The data analysis is used by descriptive statistics and confirmatory factor analysis.                       The research results presented the relationship of the smart port domains and the indicators. There are 3 key domains classified as: firstly, the operation domain is significant correlation to smart port (loading factor value 0.649). This domain is most important and consists of 11 indicators. Secondly, the environment/ energy domain is significant correlation to smart port (loading factor value 0.556) and consists of 11 indicators. Finally safety/ security domain is significant correlation to smart port (loading factor value 0.466) and consists of 7 indicators. The preliminary development plan and management plan for smart port of the Eastern Economic Corridor in Thailand were presented and can be applied to smart port management and developmenten
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาตัวชี้วัดการจัดการท่าเรืออัจฉริยะของท่าเรือสินค้าในเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก 2) วิเคราะห์ยืนยันตัวชี้วัดการจัดการท่าเรืออัจฉริยะของท่าเรือสินค้า ในเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก เเละ 3) เพื่อเสนอแผนการพัฒนาเบื้องต้นในการจัดการท่าเรืออัจฉริยะของท่าเรือสินค้า ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประชากรในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในแผนกปฏิบัติการ และแผนกความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (รับผิดชอบ ในการดำเนินการโดยตรงต่อการพัฒนาท่าเรืออัจฉริยะ) ของท่าเรือตู้คอนเทนเนอร์ทั้งหมด 11 ท่าเทียบเรือ (6 บริษัทผู้ประกอบการ) ที่อยู่ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จำนวน 341 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบความคิดเห็นที่เก็บจากกลุ่มตัวอย่าง 192 คน โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบ เชิงยืนยัน ในการวิเคราะห์ข้อมูล                       ผลการวิจัยพบว่า การบริหารจัดการท่าเรืออัจฉริยะประกอบด้วย 3 ด้านการดำเนินการหลัก คือ 1) ด้านปฏิบัติการท่าเรืออัจฉริยะ ประกอบด้วย 9 ตัวชี้วัด ที่มีความสัมพันธ์กับด้านปฏิบัติการท่าเรืออัจฉริยะ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง 0.533-0.823 2) ด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานของท่าเรืออัจฉริยะนั้น ประกอบด้วย 10 ตัวชี้วัด ที่มีความสัมพันธ์กับด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานของท่าเรืออัจฉริยะ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง 0.436-0.843 เเละ 3) ด้านความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัยท่าของเรืออัจฉริยะ ประกอบด้วย 7 ตัวชี้วัด ที่มีความสัมพันธ์กับ ด้านความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัยของเรืออัจฉริยะ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง 0.408-0.736 จากนั้น ผู้วิจัยได้นำข้อมูลจากการวิเคราะห์ตัวชี้วัดมานำเสนอแผนการพัฒนาเบื้องต้น ในการจัดการและการพัฒนาท่าเรืออัจฉริยะสำหรับท่าเรือในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ของประเทศไทย  th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectท่าเรืออัจฉริยะ/ ตัวชี้วัดท่าเรืออัจฉริยะ/ การพัฒนาท่าเรืออัจฉริยะ/ การจัดการท่าเรืออัจฉริยะth
dc.subjectSMART PORT/ SMART PORT INDICATORS/ SMART PORT DEVELOPMENT/ SMART PORT MANAGEMENTen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleSMART PORT INDICATORS OF THE EASTERN ECONOMIC CORRIDOR IN THAILANDen
dc.titleตัวชี้วัดท่าเรืออัจฉริยะของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกในประเทศไทยth
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Logistics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63910014.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.