Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/431
Title: EFFECTS OF USING INQUIRY APPROACH AND SCIENTIFIC ARGUMENTATION ON THE SCIENTIFIC CONCEPTS AND REASONING ABILITY OF MATHAYOMSUKSA TWO STUDENTS
ผลการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวสืบสอบร่วมกับการโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมโนทัศน์และความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Authors: Supachai Chimmarak
ศุภชัย ฉิมมารักษ์
CHANPHORN PROMMAS
จันทร์พร พรหมมาศ
Burapha University. Faculty of Education
Keywords: การเรียนการสอนตามแนวสืบสอบ
การโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์
มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์
ความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์
พฤติกรรมการเรียนวิทยาศาสตร์
INQUIRY APPROACH
SCIENTIFIC ARGUMENTATION
SCIENTIFIC CONCEPTS
REASONING ABILITY
SCIENCE LEARNING BEHAVIORS
Issue Date:  26
Publisher: Burapha University
Abstract: The purposes of this research were to compare students’ scientific concepts and reasoning ability of students with pretest–posttest and to study students’ science learning behaviors while studying inquiry approach with scientific argumentation. The teaching approach focused on student-centered learning that involved in hands-on and minds-on activities. There were 3 steps; work together, think & share, and apply. The samples were 40 Mattayomsuksa two students in 2021 academic year at Angsilapittayakom School. They were cluster sampling. The research instruments consisted of the lesson plans, scientific concepts tests, reasoning ability tests and science learning behaviors observation form. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and dependent sample t-test. The research findings were as follows: 1) students’ scientific concepts and reasoning ability after studying inquiry approach with scientific argumentation were significantly higher than before studying at the .05 level and 2) students’ science learning behaviors that enhanced learning in overall were good level. The apply step was showed students performed all science learning behaviors better than think & share, and work together.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวสืบสอบร่วมกับการโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ และเพื่อศึกษาพฤติกรรม การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระหว่างการเรียนการสอนดังกล่าว ซึ่งประกอบด้วย 3 ขั้น คือ ขั้นทำงานร่วมกัน ขั้นแลกเปลี่ยนความคิด และขั้นประยุกต์ใช้ โดยมุ่งให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน ได้ลงมือคิดและทำด้วยตนเอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอ่างศิลาพิทยาคม จำนวน 40 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แผนการเรียนการสอน แบบทดสอบวัดมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ และแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่า t-test แบบ Dependent sample ผลการวิจัยสรุปได้ว่า นักเรียนมีมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ หลังเรียนด้วยการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวสืบสอบร่วมกับการโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนวิทยาศาสตร์ในภาพรวมอยู่ในระดับดี โดยนักเรียนแสดงพฤติกรรมในขั้นประยุกต์ใช้มากที่สุด รองลงมา คือ ขั้นแลกเปลี่ยนความคิด และขั้นทำงานร่วมกัน ตามลำดับ
Description: Master Degree of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/431
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62910200.pdf3.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.