Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/297
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKitrawee Wichianpraditen
dc.contributorกิตติ์รวี วิเชียรประดิษฐ์th
dc.contributor.advisorSAOWANIT LEKHAVATen
dc.contributor.advisorเสาวนิตย์ เลขวัตth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Logisticsen
dc.date.accessioned2021-12-01T02:29:39Z-
dc.date.available2021-12-01T02:29:39Z-
dc.date.issued20/11/2020
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/297-
dc.descriptionMaster Degree of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe aim of this research is to increase efficiency of teak wood production process and reduce wastes. The lean tools that have been used in this study include flow process chart, causes and effect diagram in order to find the causes of the wastes. Then, ECRS concept and layout concept are applied to reduce the wastes. As a result, the study found that distance could be reduced 10 meters or 5.46%. The processing time is reduced by 139 minutes or 0.92% or 19.83% (incase excluding wood baking process 10 days). The step is deducted 2 steps or 6.45%. en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขั้นตอนในกระบวนการผลิตเพื่อหาแนวทางใน การลดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการไม้สักแปรรูป โดยการประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีน โดยการบันทึกข้อมูลด้วยแผนภูมิการไหลของกระบวนการ (Flow process chart) และใช้แผนผังก้างปลา ในการวิเคราะห์และหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา จากนั้นได้ประยุกต์ใช้หลักการ ECRS ช่วยในการกำจัดความสูญเปล่าในกระบวนการและการจัดวางผังการผลิตเพื่อให้เกิดการไหลของงานที่ดีขึ้น จากการวิเคราะห์ผลหลังการปรับปรุงกระบวนการผลิตไม้สักแปรรูป พบว่า ระยะทางลดลงทั้งสิ้น 10 เมตร คิดเป็น 5.46% ระยะเวลาลดลงทั้งสิ้น 139 นาที คิดเป็น 0.92% หรือ คิดเป็น 19.83% (ไม่รวมเวลาอบไม้ 10 วัน) และขั้นตอนในการทำงานลดลงทั้งสิ้น 2 ขั้นตอน คิดเป็น 6.45%th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectประสิทธิภาพ/ กระบวนการผลิตไม้สักแปรรูป/ แนวคิดแบบลีนth
dc.subjectEFFICIENCY/ TEAK WOOD PRODUCTION PROCESS/ LEAN CONCEPTen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleINCREASE PRODUCTIVITY BY APPLYING LEAN MANUFACTURING CONCEPT : A CASE STUDY OF TEAK WOOD PRODUCTION COMPANYen
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตโดยประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีน กรณีศึกษา บริษัทผลิตไม้สักแปรรูปth
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Logistics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61920221.pdf3.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.