Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/249
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWaraporn Poonsawaten
dc.contributorวราภรณ์ พูลสวัสดิ์th
dc.contributor.advisorSOMSIRI SINGLOPen
dc.contributor.advisorสมศิริ สิงห์ลพth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-29T06:13:55Z-
dc.date.available2021-09-29T06:13:55Z-
dc.date.issued15/11/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/249-
dc.descriptionMaster Degree of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to compare reading comprehension and analytical thinking ability before and after using Murdoch Intergrated Approach (MIA) and to compare reading  compre hension and analytical thinking ability after using Murdoch Intergrated Approach (MIA) with 70 % criteria. The research method is quasi-experimental design. The samples were 28 students from  Grade 5 at Piboombumpen Demonstration School, Burapha University, in the second semester of the academic year 2020 which were selected by cluster sampling. The research instruments  con sisted of MIA lesson plans, reading comprehension test and analytical thinking test. The statistic used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, independent t-test for Depen dent Sample and t-test for one sample. The results of the study were 1) reading comprehension and analytical thinking ability after using Murdoch Intergrated Approach (MIA) were higher signifi cantly than before at the .05 Level 2) reading comprehension and analytical thinking ability after using Murdoch Intergrated Approach (MIA) were higher significantly than 70 % criteria at the .05en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและการคิดวิเคราะห์วิชาภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบ MIA และเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและการคิดวิเคราะห์โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MIA หลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi – Experimental Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 28 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ MIA 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและ 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทด สอบค่าทีกรณีกลุ่มตัวอย่างไม่อิสระจากกัน (t-test for Dependent Sample) และการทดสอบค่าทีกรณีกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว (t-test for one sample) ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectMIAth
dc.subjectMURDOCHth
dc.subjectการอ่านเพื่อความเข้าใจth
dc.subjectการคิดวิเคราะห์th
dc.subjectMIAen
dc.subjectMURDOCHen
dc.subjectREADING COMPREHENSIONen
dc.subjectANALYTICAL THINKINGen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleMURDOCH INTERGRATED APPROACH (MIA) LEARNING MANAGEMENT TO DEVELOP READING COMPREHENSION AND ANALYTICAL THINKING ABILITIES OF GRADE 5 STUDENTS AT PIBOONBUMPEN DEMONSTRATION SCHOOL, BURAPHA UNIVERSITYen
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบ MIA เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและการคิดวิเคราะห์วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพาth
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62920227.pdf5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.