Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/234
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCherrada Khumtanormen
dc.contributorเฌอร์รฎา คุ้มถนอมth
dc.contributor.advisorTHANYAPHAT MUANGPANen
dc.contributor.advisorธัญภัส เมืองปันth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Logisticsen
dc.date.accessioned2021-09-29T04:25:36Z-
dc.date.available2021-09-29T04:25:36Z-
dc.date.issued25/6/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/234-
dc.descriptionMaster Degree of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThis research is to study the economic order quantity of raw material: a case study of steel producing company. The purposes of this quantitative research aim to analysis of raw material ordering with Economic Order Quantity and to compare of the total cost before and after applying EOQ. ABC analysis is applied to classify the priority of domestic raw material based on the order value from January to December 2019. Twenty-four items of the domestic raw material can be divided into 3 groups; A, B, and C respectively. There are 5 items of group A which is the highest value 34,358,106 baht per year or 70% of the total raw material value in the year. The Economic Order Quantity (EOQ) model and Reorder point (ROP) are applied to order raw material for group A and compare the total cost. The result shows that the total cost can be reduced to 378,181.84 baht per year or 49.95% and the ordering frequency can be reduced to 23 times per year or 16.78%.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ เป็นการศึกษาปริมาณการสั่งซื้อวัตถุดิบหลักที่เหมาะสม กรณีศึกษา บริษัทผลิตเหล็กแท่งและเหล็กเส้นก่อสร้าง เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมของวัตถุดิบหลักภายในประเทศของบริษัทกรณีศึกษา และเพื่อเปรียบเทียบต้นทุนการสั่งซื้อวัตถุดิบหลักก่อนและหลังทำการวิเคราะห์ปริมาณการสั่งซื้อวัตถุดิบหลักที่เหมาะสมของบริษัทกรณีศึกษา ผู้วิจัยทำการจัดลำดับกลุ่มความสำคัญของวัตถุดิบ โดยใช้มูลค่าของยอดสั่งซื้อสินค้าของบริษัทกรณีศึกษาย้อนหลัง ตั้งแต่เดือนมกราคม-เดือนธันวาคม  พ.ศ. 2562 เป็นเกณฑ์ ด้วยวิธี ABC Analysis ทำให้สามารถแบ่งกลุ่มวัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด 24 รายการ ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ วัตถุดิบกลุ่ม A วัตถุดิบกลุ่ม B และวัตถุดิบกลุ่ม C ตามลำดับ โดยพบว่า วัตถุดิบกลุ่ม A มีจำนวน 5 รายการ ซึ่งมีมูลค่าสูงสุด 34,358,106 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 70 ของมูลค่าวัตถุดิบทั้งหมดในรอบปี ซึ่งจัดเป็นวัตถุดิบกลุ่มที่มีความสำคัญมากที่สุด และได้นำแนวคิดการสั่งซื้อแบบประหยัด (Economic order quantity) และการหาจุดสั่งซื้อใหม่ (Reorder point) มาประยุกต์ใช้กับการสั่งซื้อวัตถุดิบกลุ่ม A จากนั้น ทำการเปรียบเทียบต้นทุนรวม ในการสั่งซื้อ จากผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) สามารถลดต้นทุนรวม ในการบริหารสินค้าคงคลังได้ถึง 378,181.84 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 49.95 และมีความถี่ ในการสั่งซื้อลดลง 23 ครั้งต่อปี คิดเป็นร้อยละ 16.78th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectต้นทุนการสั่งซื้อ/ วัตถุดิบ/ ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด/ จุดสั่งซื้อใหม่/ เวลานำth
dc.subjectORDERING COST/ RAW MATERIAL/ ECONOMIC ORDER QUANTITY/ REORDER POINT/ LEAD TIMEen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleECONOMIC ORDER QUANTITY OF RAW MATERIAL: A CASE STUDY OF STEEL PRODUCING COMPANY  en
dc.titleปริมาณการสั่งซื้อวัตถุดิบหลักที่เหมาะสม กรณีศึกษา บริษัทผลิตเหล็กแท่งและเหล็กเส้นก่อสร้างth
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Logistics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62920061.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.