Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/233
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRawirod Pongsuben
dc.contributorรวีโรจน์ ป้องทรัพย์th
dc.contributor.advisorTHANYAPHAT MUANGPANen
dc.contributor.advisorธัญภัส เมืองปันth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Logisticsen
dc.date.accessioned2021-09-29T04:24:41Z-
dc.date.available2021-09-29T04:24:41Z-
dc.date.issued12/6/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/233-
dc.descriptionMaster Degree of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThis research is to study the vehicle routing arrangement for automotive parts: a case study of Automotive Parts Transport Company. Quantitative research is applied that is to analyze the vehicle routing arrangement and to compare the transportation costs before and after vehicle routing arrangement. The transportation routing data was collected on August to November 2020. The three transportation routing zones (Zone a, Zone b and zone c) were divided into five routes each, for a total of 15 routes. The saving algorithm is applied to compare the total transportation cost before and after using a saving algorithm. The results of the research showed that the saving algorithm can reduce the total cost of transportation by 4,241,705.71 baht per year or 23.33%, total distance by 395,740.8 kilometers per year or 18.83%, total transportation time by 438,766.89 minutes per year or 17.37%, and total fuel volume by 65,956.8 liters per year or 18.38%. Moreover; the number of trucks is decreased by four cars or 26.67% and the number of employees is decreased by eight people or 26.67%.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาการจัดเส้นทางขนส่งชิ้นส่วนรถยนต์ กรณีศึกษาบริษัทขนส่งชิ้นส่วนรถยนต์ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การจัดเส้นทางการขนส่งสินค้า และเปรียบเทียบต้นทุนการขนส่งสินค้าก่อนหลังการจัดเส้นทางขนส่งของบริษัทกรณีศึกษา การวิจัยนี้ได้ใช้ข้อมูลเส้นทางการขนส่งของบริษัทกรณีศึกษา ตั้งแต่สิงหาคม-พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 โดยเส้นทางแต่ละโซนที่ลานจอดได้มีเส้นทางขนส่งทั้งหมด 99 เส้นทาง 3 โซน ทำการศึกษา 5 เส้นทางต่อ 1 โซน รวมทั้งหมด 15 เส้นทาง โดยนำมาวิเคราะห์หาเส้นทางการขนส่งที่เหมาะสมด้วยวิธี Saving algorithm ของบริษัทกรณีศึกษา และวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนรวมในการขนส่งสินค้าก่อนหลังการจัดเส้นทางด้วยวิธี Saving algorithm ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการจัดเส้นทางขนส่งด้วยวิธี Saving algorithm สามารถลดต้นทุนรวมในการขนส่งสินค้าได้ 4,241,705.71 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 23.33 ระยะทางขนส่งรวมลดลง 395,740.8 กิโลเมตรต่อปี คิดเป็นร้อยละ 18.83 ระยะเวลาขนส่งรวมลดลง 438,766.89 นาทีต่อปี คิดเป็นร้อยละ 17.37 ปริมาณเชื้อเพลิงรวมลดลง 65,956.8 ลิตรต่อปี คิดเป็นร้อยละ 18.38 จำนวนรถบรรทุกลดลง 4 คัน คิดเป็นร้อยละ 26.67 และจำนวนพนักงานลดลง 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.67  th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectชิ้นส่วนยานยนต์/ โรงงานผู้ผลิต/ สินค้าเต็มตู้/ โรงงานของลูกค้า/ รถพิเศษ/ สินค้าที่เหลือ/ ต้นทุนค่าน้ำมันเชื้อเพลิงth
dc.subjectAUTOMOTIVE PART/ SUPPLIER/ FULL CONTAINER/ CUSTOMER FACTORY/ EXTRA TRUCK/ PART OVERFLOW/ FUEL CONSUMPTION COSTen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleVEHICLE ROUTING ARRANGEMENT FOR AUTOMOTIVE PARTS: A CASE STUDY OF AUTOMOTIVE PARTS TRANSPORT COMPANYen
dc.titleการจัดเส้นทางขนส่งชิ้นส่วนรถยนต์ กรณีศึกษาบริษัทขนส่งชิ้นส่วนรถยนต์th
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Logistics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62920302.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.