Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNirawan Srithongen
dc.contributorนิราวัลย์ ศรีทองth
dc.contributor.advisorAUSANAKORN TAVAROMen
dc.contributor.advisorอุษณากร ทาวะรมย์th
dc.contributor.otherBurapha University. Graduate School of Public Administrationen
dc.date.accessioned2021-09-29T02:46:33Z-
dc.date.available2021-09-29T02:46:33Z-
dc.date.issued22/3/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/219-
dc.descriptionMaster Degree of Public Administration (M.P.A.)en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.)th
dc.description.abstractThis study aimed to study the work motivation of officers, Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Bangphra Campus, and to compare the work motivation of offices, Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Bangphra Campus, classified by gender, age, education level, under the agency and operational experience, the population was 341 officers, the research tool was questionnaire, data analysis with descriptive or basic statistics such as frequency, percentage, mean and standard deviation, hypothesis testing using inference statistics such as t-test, One-Way ANOVA and Post-hoc Comparison by LSD. The results found that: officers’ Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Bangphra Campus, most of them were female, aged between 31-40 years, had a bachelor’s degree, under the Office of the President and had more 4 years of working experience; the work motivation of officers, Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Bangphra Campus, in overall was at a high level, when considering each aspect, it was found that the responsibility was the highest level, followed by the relationships with colleagues and supervisors, the success in work, the job characteristics, the policy/ planning and administration, the recognition, the job security, the operational conditions, the job advancement 'and the compensation and benefits were the lowest level; the results of the hypothesis testing found that the officers of Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Bangphra Campus with different genders had no different motives in their work, but officers of different ages found significantly different motivations in the success in work and the responsibility at the level of 0.05, officers of different educational levels were found significant different motivations in the success in work, the job characteristics, the responsibility, the policy/ planning and administration at the level of 0.05, officers of different under the agency found significant different motivations in the operational conditions at the level of 0.05, and officers of different working experience found significantly different motivations in the relationships with colleagues and supervisors at the level of 0.05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เขตพื้นที่บางพระ และเพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เขตพื้นที่บางพระ จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา หน่วยงานที่สังกัด และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ประชากร คือ บุคลากรสายสนับสนุนจำนวน 341 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistic) หรือ ค่าสถิติพื้นฐาน เช่น ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติเชิงอนุมาน (Inference statistics) ได้แก่ t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way analysis of Variance: One-way ANOVA) หรือ F-test และการวิเคราะห์ความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี (Least-square test: LSD) ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เขตพื้นที่บางพระ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี สังกัดหน่วยงานสำนักงานอธิการบดีและสังกัด และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานมากกว่า 4 ปีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เขตพื้นที่บางพระโดยรวมอยู่ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความรับผิดชอบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านนโยบาย/ แผนและการบริหารงาน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านความมั่นคงในงาน ด้านสภาพการปฏิบัติงาน ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน และด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เขตพื้นที่บางพระ ที่มีเพศต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน แต่บุคลากรสายสนับสนุนที่มี อายุต่างกัน พบว่า มีแรงจูงใจในด้านความสำเร็จในการทำงานและด้านความรับผิดชอบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 บุคลากรสายสนับสนุนที่มีระดับการศึกษาต่างกัน พบว่า มีแรงจูงใจในด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบ ด้านนโยบาย/ แผนและการบริหารงาน และภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 บุคลากรสายสนับสนุนที่มีหน่วยงานที่สังกัดต่างกัน พบว่า มีแรงจูงใจในด้านสภาพการปฏิบัติงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และบุคลากรสายสนับสนุนที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน พบว่า มีแรงจูงใจในด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectแรงจูงใจ/ การปฏิบัติงาน/ บุคลากรสายสนับสนุน/ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกth
dc.subjectMOTIVATION/ PERFORMANCE/ OFFICER/ RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY TAWAN-OKen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleWORK MOTIVATION OF OFFICERS OF RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY TAWAN-OK, BANG PHRA CAMPUSen
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เขตพื้นที่บางพระth
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Graduate School of Public Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61930013.pdf3.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.