Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/204
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorOrawan Thawornen
dc.contributorอรวรรณ ถาวรth
dc.contributor.advisorRAPEEPORN SRIJUMPAen
dc.contributor.advisorระพีพร ศรีจำปาth
dc.contributor.otherBurapha University. Graduate School of Commerceen
dc.date.accessioned2021-07-19T02:44:28Z-
dc.date.available2021-07-19T02:44:28Z-
dc.date.issued22/3/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/204-
dc.descriptionMaster Degree of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThis research attempt to study the relationship between financial ratios and bankruptcy risk to develop a bankruptcy model of thai listed companies. By collecting financial information of those companies included a financial ratio from the annual report before the year of REHABCO and show trading suspension and using Binary Logistic Regression analysis is applied to test the proposed model. The sample data are thai listed companies all business group except financials industry group and property & construction industry group on property fund & REITs sectors total amount 502 companies consist of 20 failure companies and 482 non failure companies. The results indicate that leverage ratio of debt ratio (DTA) and profitability ratio of net profit margin (NPM), and gross profit margin (GPM) are statistically significant at  0.05 of relationship between financial ratios and generate bankruptcy model. The cutting point of this model was set at 0.5, making the model prediction reach a maximum accuracy rate of 96.79% with a type I error of 55.00% and type II error of 1.04%en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของอัตราส่วนทางการเงินกับโอกาสล้มละลาย และสร้างแบบจำลองของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลอัตราส่วนทางการเงินจากสรุปข้อสนเทศ รายงานการเงินประจำปี ก่อนหน้า 1 ปี ที่บริษัทจะถูกจัดประเภทให้อยู่ในหมวดที่อยู่ระหว่างฟื้นฟูการดำเนินงาน และขึ้นเครื่องหมายแสดงการห้ามซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียนเป็นการชั่วคราวหรือเครื่องหมาย SP (Suspension) และใช้วิธีการวิเคราะห์ Binary Logistic Regression เป็นเครื่องมือสร้างแบบจำลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทุกกลุ่มธุรกิจ ยกเว้นกลุ่มธุรกิจการเงิน และกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ในหมวดธุรกิจกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ รวมจำนวน 502 บริษัท แบ่งเป็น บริษัทที่เป็นตัวแทนความล้มเหลวทางการเงิน จำนวน 20 บริษัท และบริษัทที่ไม่ล้มเหลวทางการเงิน จำนวน 482 บริษัท ผลการศึกษา พบว่า มีตัวแปรอัตราส่วนทางการเงิน 3 ตัวแปร ที่มีความสัมพันธ์ในการพยากรณ์โอกาสล้มละลายได้อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ประกอบด้วย ประเภทอัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการก่อหนี้ ได้แก่ อัตราส่วนหนี้สิน (DTA) และประเภทตัวแปรอัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการหากำไร ได้แก่ อัตราส่วนผลตอบแทนจากกำไรสุทธิ (NPM) และอัตรากำไรขั้นต้น GPM) โดยกำหนด Cutting Point เท่ากับ 0.5 แบบจำลองสามารถพยากรณ์ได้ถูกต้อง ร้อยละ 96.79 โดยเกิดความผิดพลาดแบบ Type I Error ร้อยละ 55.00 และเกิดความผิดพลาดแบบ Type II Error ร้อยละ 1.04th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectพยากรณ์ความล้มเหลวทางการเงินth
dc.subjectBinary Logistic Regressionth
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth
dc.subjectBankruptcy Predictionen
dc.subjectBinary Logistic Regressionen
dc.subjectThe Stock Exchange of Thailanden
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN FINANCIAL RATIOS AND BANKRUPTCY RISK OF THAI LISTED COMPANIESen
dc.titleความสัมพันธ์ของอัตราส่วนทางการเงินกับโอกาสล้มละลายของบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Graduate School of Commerce

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61710039.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.