Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/203
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKeeratika Inchaien
dc.contributorกีรติกา อินทร์ชัยth
dc.contributor.advisorNOPMANEE CHAUVATCHARINen
dc.contributor.advisorนพมณี เชื้อวัชรินทร์th
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-07-19T02:43:56Z-
dc.date.available2021-07-19T02:43:56Z-
dc.date.issued12/6/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/203-
dc.descriptionMaster Degree of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis action research used Socio-scientific Issues based learning, the learning that encourages students to analyze and discuss social issues, to enhance students in learning science literacy and critical thinking. Therefore, this learning enables students to analyze the information which is hidden with unreliable or wrong information. This action research aimed to study Socio-scientific Issues based learning on learning achievement and critical thinking. The target group was 35 Mattayomsuksa 5 students. The research instruments that were provided consist of six lesson plans, the learning achievement test, and the critical thinking abilities test. The data were analyzed by percentage, standard deviation, and effect size. Research results revealed that the student raised higher learning achievement and critical thinking after being treated with Socio-scientific Issues based learning. The average score was 70.37 percent and 69.00 percent, respectively. The effect sizes of learning achievement and critical thinking represent 3.79 and 1.73 respectively which indicate to high level of development. The findings benefit for teachers who intend to bring social issues in the science education for promoting learning achievement and critical thinking.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ใช้การจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้วิเคราะห์และอภิปรายประเด็นที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบันร่วมกัน สามารถเสริมสร้างทั้งความรู้วิทยาศาสตร์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณแก่นักเรียนได้ ทำให้นักเรียนมีความรู้ สามารถคิดวิเคราะห์และแยกแยะข้อมูลข่าวสารซึ่งอาจปะปนไปด้วยข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือหรือข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง โดยการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการใช้จัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก จำนวน 6 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และขนาดของผล โดยผลการวิจัยพบว่านักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 70.37 และ 69.00 ตามลำดับ และมีขนาดของผลของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเท่ากับ 3.79 และ 1.73 ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่ามีพัฒนาการของคะแนนอยู่ในระดับมาก ผลการวิจัยครั้งนี้มีประโยชน์กับผู้สอนที่ต้องการใช้ประเด็นที่เกิดขึ้นในสังคมมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณth
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectการคิดอย่างมีวิจารณญาณth
dc.subjectการวิจัยเชิงปฏิบัติการth
dc.subjectSocio-scientific Issues Based Learningen
dc.subjectLearning Achievementen
dc.subjectCritical Thinkingen
dc.subjectAction Researchen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleAn Action Research through Socio-scientific Issues Based Learning on Learning Achievement and Critical Thinkingen
dc.titleการวิจัยเชิงปฏิบัติการในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณth
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61910060.pdf7.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.