Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNuttaput Sangmalaen
dc.contributorณัฐภัทร แสงมาลาth
dc.contributor.advisorSOMKID INTEPen
dc.contributor.advisorสมคิด อินเทพth
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2021-07-19T02:13:20Z-
dc.date.available2021-07-19T02:13:20Z-
dc.date.issued22/3/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/199-
dc.descriptionMaster Degree of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to study mathematical concepts and reasoning ability in circles of Mathayomsuksa III students using mathematical inductive and deductive learning activities with higher-order questions. The design of this research was one group posttest only design. The number of subjects for this study were 36 which stood for Mathayomsuksa III students who willed to participate in additional Mathematics class of 1st semester in academic year 2020. There were 3 research instruments, including 9 lesson plans using mathematical inductive and deductive learning activities with higher-order questions, mathematical concepts test and mathematical reasoning ability test. The data were analyzed by mean, standard deviation and one-sample z-test. The results revealed as the following :                      1. After using mathematical inductive and deductive learning activities with higher-order questions, the average score of Mathayomsuksa III students’ mathematical concepts in circles were higher than the criteria of 70 percent with statistical significance at the level of 0.05.                      2. After using mathematical inductive and deductive learning activities with higher-order questions, the average score of Mathayomsuksa III students’ mathematical reasoning ability in circles were higher than the criteria of 70 percent with statistical significance at the level of 0.05.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์และความสามารถในการให้เหตุผลทาง คณิตศาสตร์ เรื่อง วงกลม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัย ร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง ใช้แบบแผนการวิจัยกลุ่มเดียวทดสอบหลัง (One Group Posttest Only Design) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่สมัครใจเรียนคาบเรียนเสริมคณิตศาสตร์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนตราษตระการคุณ อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบอุปนัยและนิรนัย ร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง เรื่อง วงกลม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 9 แผน แบบทดสอบวัดมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และสถิติทดสอบซี โดยผลการวิจัยพบว่า                      1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัย ร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง เรื่อง วงกลม มีคะแนนมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์เฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05                      2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัย ร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง เรื่อง วงกลม มีคะแนนความสามารถในการให้เหตุผล ทางคณิตศาสตร์เฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยth
dc.subjectคำถามระดับสูงth
dc.subjectมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectวงกลมth
dc.subjectINDUCTIVE AND DEDUCTIVE LEARNING ACTIVITIESen
dc.subjectHIGHER-ORDER QUESTIONSen
dc.subjectMATHEMATICAL CONCEPTSen
dc.subjectMATHEMATICAL REASONING ABILITYen
dc.subjectCIRCLESen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleMATHEMATICAL INDUCTIVE AND DEDUCTIVE LEARNING ACTIVITIES WITH HIGHER-ORDER QUESTIONS AFFECTING MATHEMATICAL CONCEPTS AND REASONING ABILITY IN CIRCLES OF MATHAYOMSUKSA III STUDENTSen
dc.titleการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบอุปนัยและนิรนัย ร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง ที่มีผลต่อมโนทัศน์และความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่อง วงกลม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 th
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61910026.pdf8.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.