Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/194
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanchanok Taranateen
dc.contributorธัญชนก ทาระเนตรth
dc.contributor.advisorNOPMANEE CHAUVATCHARINen
dc.contributor.advisorนพมณี เชื้อวัชรินทร์th
dc.contributor.otherBurapha University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-07-19T02:09:21Z-
dc.date.available2021-07-19T02:09:21Z-
dc.date.issued22/3/2021
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/194-
dc.descriptionMaster Degree of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research was aimed to study the effects of STEAM education approach on scientific creative thinking and science learning achievement in DNA technology. This research was a quasi-experimental research conducting one group pre-test post-test design experiment. The sample consisted of 40 students of 10th grade in the 1st semester of the 2020 academic year at Banglamung school in Chonburi province selected by cluster random sampling method. The research instruments were STEAM education lesson plan, scientific creative thinking test and science achievement test in DNA technology. The data were analyzed by mean, percentage, standard deviation, and t-test.                       The research results were that;                       1. The posttest score of scientific creativity after learning by STEAM education was higher than pretest scores with statistical significant at .05.                       2. The posttest score of science achievement after learning by STEAM education was higher than pretest scores and higher than the criteria of 60%.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ งานวิจัยนี้เป็นรูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง โดยดำเนินการทดลองแบบ One group pre-test post-test design กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบางละมุง จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 40 คน โดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือ ในการทำวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษา แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ และแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าเฉลี่ยค่าทีแบบไม่อิสระ และการทดสอบค่าเฉลี่ยค่าทีแบบกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวเทียบกับเกณฑ์                        ผลการวิจัยพบว่า                       1. คะแนนความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05                       2. คะแนนวิทยาศาสตร์หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาสูงกว่าก่อนเรียนและสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 th
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษา, ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectSTEAM EDUCATIONen
dc.subjectSCIENTIFIC CREATIVE THINKINGen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE EFFECTS OF STEAM EDUCATION APPROACH ON SCIENTIFIC CREATIVE THINKING AND LEARNING ACHIEVEMENT IN DNA TECHNOLOGY OF 10TH GRADE STUDENTSen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeTHESISen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61920129.pdf6.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.