Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/132
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhukrich Kaewaroonen
dc.contributorภูกริช แก้วอรุณth
dc.contributor.advisorKRISDA NANTAPETCHen
dc.contributor.advisorกฤษฎา นันทเพ็ชรth
dc.contributor.otherBurapha University. Graduate School of Public Administrationen
dc.date.accessioned2020-05-21T02:20:19Z-
dc.date.available2020-05-21T02:20:19Z-
dc.date.issued29/3/2020
dc.identifier.urihttp://ir.buu.ac.th/dspace/handle/1513/132-
dc.descriptionMaster of Public Administration (M.P.A.)en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.)th
dc.description.abstractThis research was aimed to study the results of operation of Damrongdhama Center, Phan Thong District, Chon Buri Province, according to government service standards: PMQA. The researcher used the qualitative research by interview 4 key informants, namely 1 Executive, 1 Head of department and 2 staffs with more than 3 years of control experience.                     The results of this study found that the operation of Damrongdhama Center, Phan Thong District, Chon Buri Province, according to government service standards: PMQA as follows: 1) Lead the organization: Damrongdhama Center, Phan Thong District has established a vision of operation that was in line with the operation, as well as clear policy guidelines; 2) Strategic planning: had concrete operational plans as well as conveying strategic issues that were comprehensive and accurate according to the objectives of the operation, and covering operations with the aim of solving the problems of the people; 3) Giving priority to service recipients and stakeholders: the result of providing services to the public with willingness and dedication; 4) Measurement, analysis and knowledge management: there were regular supervision and audited from supervisors at the central and area levels, but there were still delays with many factors; 5) Personnel focus: almost every Damrongdhama Center has experienced a shortage of personnel or operations because the personnel or operators were not responsible for the Damrongdhama Center alone; 6) Operating system focus: operations were clear in the work process, but there was still a lack of comprehensive management power, allowing it to be resolved in one place; and 7) Performance outcomes: the operations were able to meet all aspects of the mission, but in the materials used in the operation must rely on the resources of the district administrative office to operate, including lack of personnel or budget of its own, causing the authority to operate was not as effective as it should be, to respond the needs and solved problems for the people as quickly and efficiently as the people wanted.                     The Suggestions for Damrongdhama Center, Phan Thong District, Chon Buri Province, according to government service standards: PMQA should have the rotation of operators or increase the number of operators in the Damrongdhama Center, allowing only one side of the work to be continuously implemented and able to solve problems, with the people more quickly and more efficiently, including the Damrongdhama Center be able to propose the district’s existing budget (integration budget) or to obtain support from other government agencies, such as local government, including the private sector, by using materials and equipment to maximize benefits, for use within the District Damrongdhama Center, not mingling with the work or other tasks of the district, regularly, controlling the quality of work, and creating human resource development plans in proactive, for work efficiency and solving problems for people.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานของศูนย์ดำรงธรรม อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ตามเกณฑ์มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ: PMQA ผู้วิจัยได้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 4 คน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ระดับผู้บริหารจำนวน 1 คน เจ้าหน้าที่ระดับหัวหน้าฝ่าย จำนวน 1 คน และเจ้าหน้าที่ที่มีประสบการณ์ด้านการควบคุมมากกว่า 3 ปี จำนวน 2 คน                     ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า การดำเนินงานของศูนย์ดำรงธรรม อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ตามเกณฑ์มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ: PMQA ดังนี้ 1) ด้านการนำองค์กร ศูนย์ดำรงธรรมอำเภอพานทองได้กำหนดวิสัยทัศน์ในการดำเนินงานที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานอีกทั้งยังมีแนวนโยบายด้านต่างๆ ที่ชัดเจน 2) ด้านการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ได้มีการวางแผนในการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม ตลอดจนถ่ายทอดประเด็นยุทธศาสตร์ได้ครอบคลุมและถูกต้องตามวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน และครอบคลุมการดำเนินงานโดยมุ่งแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 3) ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินการได้ให้บริการประชาชนอย่างเต็มใจและทุ่มเท 4) ด้านการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ มีการกำกับและตรวจสอบจากผู้บังคับบัญชาในระดับส่วนกลางและพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ แต่ก็ยังพบว่ามีปัญหาในเรื่องของความล่าช้าซึ่งก็ด้วยปัจจัยหลายประการด้วยกัน 5) ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร ศูนย์ดำรงธรรมแทบทุกแห่งประสบปัญหาการขาดแคลนบุคลากรหรือปฏิบัติงานเนื่องจากบุคลากรหรือผู้ปฏิบัติงานมิได้รับผิดชอบงานศูนย์ดำรงธรรมเพียงอย่างเดียว 6) ด้านการมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ การดำเนินงานมีความชัดเจนในกระบวนการทำงาน แต่ยังขาดอำนาจการจัดการที่เบ็ดเสร็จทำให้สามารถยุติเรื่องในจุดเดียวได้ และ 7)  ด้านผลลัพธ์การดำเนินการ การดำเนินงานสามารถปฏิบัติงานได้บรรลุพันธกิจในทุกด้าน แต่ในเรื่องของวัสดุอปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงานจะต้องพึงพาอาศัยทรัพยากรของที่ทำการปกครองอำเภอในการดำเนินการ รวมทั้งไม่มีบุคลากรหรืองบประมาณเป็นของตนเอง ทำให้อำนาจหน้าที่ในการดำเนินงานยังไม่มีประสิทธิผลเท่าที่ควร เพื่อตอบสนองความต้องการและแก้ไขปัญหาให้ประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตามที่ประชาชนต้องการ                     ข้อเสนอแนะที่มีต่อศูนย์ดำรงธรรม อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ตามเกณฑ์มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ: PMQA ควรมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนผู้ปฏิบัติงานหรือเพิ่มจำนวนผู้ปฏิบัติงานศูนย์ดำรงธรรมอำเภอโดยให้ปฏิบัติงานด้านเดียวเท่านั้นเพื่อทำให้เกิดการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องสามารถแก้ปัญหาให้กับประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นรวมทั้งศูนย์ดำรงธรรมสามารถเสนอใช้งบประมาณที่มีอยู่ของอำเภอ (งบบูรณาการ) หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานราชการอื่น เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งภาคเอกชน โดยนำวัสดุและครุภัณฑ์มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อใช้ภายในศูนย์ดำรงธรรมอำเภอโดยเฉพาะไม่ปะปนกับงานหรือภารกิจอื่นของอำเภอ ควบคุมคุณภาพงานอย่างสม่ำเสมอ และจัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรในเชิงรุก เพื่อประสิทธิภาพในการทำงานแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนth
dc.language.isoth
dc.publisherBurapha University
dc.rightsBurapha University
dc.subjectเกณฑ์มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ PMQA/ ศูนย์ดำรงธรรมอำเภอth
dc.subjectPUBLIC SECTOR MANAGEMENT QUALITY AWARD/ DISTRICT DAMRONGDHAMA CENTERen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleRESULTS OF OPERATIONS OF DAMRONGDHAMA CENTER, PHAN THONG DISTRICT, CHONBURI PROVINCE, ACCORDING TO GOVERNMENT SERVICE STANDARDS: PMQAen
dc.titleผลการดำเนินงานของศูนย์ดำรงธรรม อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ตามเกณฑ์มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ (PMQA)th
dc.typeINDEPENDENT STUDYen
dc.typeงานนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Graduate School of Public Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59930075.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.